Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pneumonia with respiratory failure with DKA (เอกสารอ้าง (กิตติภรณ บาลโพธ.…
Pneumonia with respiratory failure with DKA
Pneumonia
เกิดจากเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรีย
เข้ามาอยู่ทางเดินหายใจส่วนบนและแพร่เข้าสู่หลอดลมฝอย
มีเยื่อเมือกและเยื่อบุทางเดินหายใจที่มีเซลล์ขนกวัดพยายามกำจัดเชื้อ
จำนวนเชื้อไวรัสหรือแบคทีเรียมีจำนวนมากขึ้น
ทำให้ร่างกายเริ่มต่อต้านเชื้อ
ไปกระตุ้น complement ทำให้เกิดการอักเสบ
ทำให้เกิดภาวะถุงลมโป่งพองและเกิดการตีบแคบของหลอดลม
ร่วมกับมีอาการบวมของชัั้น mucosa และ submucosa
1 more item...
DM,ขาดยา 1 เดือน
ทำให้ตับมีการผลิตน้ำตาลเพิ่มมากขึ้น
ทำให้เนื้อเยื่อส่วนปลายไม่สามารถนำนัำตาลไปใช้ได้
มีการสร้างสาร Glucagon เพิ่มขึ้น
ร่างกายพยายามขับน้ำตาลส่วนเกินออกทางปัสสาวะ
จึงทำให้เกิด Osmotic diuresis เพิ่มขึ้น
3.มีภาวะไม่สมดุลของสารน้ำและอิเล็กโทรไลต์เนื่องจากมีการสูญเสียกรด-ด่าง
เป้าประสงค์การพยาบาล
เพื่อให้อิเล็กโทรไลต์ในร่างกายกลับสู่ภาวะปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
ประเมิน Glasgow coma scale E2M5Vs
สัญญาณชีพ
2 more items...
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
13 more items...
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะอิเล็กโทรไลต์ในร่างกายผิดปกติ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร รู้สึกตัวดี ไม่มีอาการสับสน
ค่าระดับน้ำตาลในเลือด = 74-109 mg/dL
กิจกรรมการพยาบาล
3.ดูแลผู้ป่วยในการใส่สายสวน foley’s catheter ทำความสะอาดอยู่เสมอ ดูไม่ให้สายสวนหักพับงอ เพื่อระบายปัสสาวะให้ไหลออกมาได้ตลอดเวลา
4.ดูแลผู้ป่วยได้รับอินซูลิน RI 10 unit sc stat โดยต้องประเมินควบคู่กับผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดทุก 1 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำของภาวะ DKA
5.บันทึกจำนวนสารน้ำเข้าออกจากร่างกายทุก 1-2 ชั่วโมง พร้อมทั้งฟังเสียงปอดเป็นระยะ เพื่อป้องกันภาวะน้ำเกินและประเมินการทำหน้าที่ของไต
6.ดูแลให้การพยาบาลอย่างนุ่มนวล เพื่อลดการใช้พลังงานของผู้ป่วยเนื่องจากผู้ป่วยอาจเกิดภาวะขาดน้ำ
7.กระตุ้นให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและการป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
2.ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ NSS 1000 ml + KCL 40 mEq Iv drip 80 ml/hr ตามแผนการรักาของแพทย์ เพื่อป้องกันภาวะไม่สมดุลของสารน้ำ อิเล็กโทรไลต์ และโพแทสเซียมในเลือดต่ำ
8.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น Na,K,Cl,HCO3,BUN,Creatinin,pH,pCO2,pO2,Sp.Gr.,GLU,Ketone,Protein
1.ประเมินอาการ อาการแสดงของภาวะอิเล็กโทรไลต์ในร่างกาย เช่น คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ซึม สับสน ปวดศีรษะ ท้องผูก ท้องเสีย กล้ามเนื้ออ่อนแรง เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย และประเมิน Glasgow coma scale (GCS) เพื่อประเมินความรุนแรงของระบบประสาทและความผิดปกติทางสรีรวิทยา
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Creatinin = 0.63 mg/dL
pH = 5.0
pCO2 = 32.2 mmHg
BUN = 24 mg/dL
pO2 = 28.7 mmHg
HCO3 = 14 mEg/L
Sp.Gr. ≥ 1.030 1.030
Cl = 89 mEg/L
GLU = 4+
K = 2.8 mEg/L
Ketone = 3+
Protine = 2+
Na = 123 mEg/L
4.เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากระดับน้ำตาลในเลือดสูง
เป้าประสงค์การพยาบาล
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากน้ำตาลในเลือดสูง
เกณฑ์การประเมินผล
ค่าระดับน้ำตาลในเลือด = 74-109 mg/dL
สัญญาณชีพ
2 more items...
ไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนน้ำตาลในเลือด เช่น ซึม สับสน เหงื่อออก ตัวเย็น ใจสั่น หัวใจเต้นแรงและเร็ว อารมณ์หงุดหงิดง่าย มือสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะบ่อย ลมหายใจมีกลิ่นเหมือนผลไม้ หายใจเหนื่อยหอบลึก
ประเมิน Glasgow coma scale (GCS) E4M6V5
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
8 more items...
กิจกรรมการพยาบาล
3.บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ
4.ดูแลผู้ป่วยให้ได้รับประทานอาหารตรงเวลาและเพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย BD (1;1) 200 ml + 4 feed + น้ำตาม 50 ml + น้ำระหว่างมื้อ 50 ml ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อให้ผู้ป่วยได้มีสารอาหารครบถ้วนตามภาวะโภชนาการ
5.กระตุ้นให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดและการป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
6.ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น pH, pCO2,pO2,Na,Sp.Gr.,GLU,Ketone,Protein
2.ดูแลผู้ป่วยได้รับอินซูลิน RI 10 unit sc stat โดยต้องประเมินควบคู่กับผลการตรวจระดับน้ำตาลในเลือดทุก 1 ชั่วโมง ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำของภาวะ DKA
1.ประเมินอาการ อาการแสดงของภาวะแทรกซ้อนน้ำตาลในเลือด เช่น ซึม สับสน เหงื่อออก ตัวเย็น ใจสั่น หัวใจเต้นแรงและเร็ว อารมณ์หงุดหงิดง่าย มือสั่น คลื่นไส้ อาเจียน ปัสสาวะบ่อย ลมหายใจมีกลิ่นเหมือนผลไม้ หายใจเหนื่อยหอบลึก
เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย และประเมิน Glasgow coma scale (GCS)
เพื่อประเมินความรุนแรงของระบบประสาทและความผิดปกติทางสรีรวิทยา
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
pCO2 = 32.2 mmHg
pO2 = 28.7 mmHg
Na = 123 mEg/L
Sp.Gr. ≥ 1.030
GLU = 4+
Ketone = 3+
pH = 5.0
Protine = 2+
สัญญาณชีพ
PR = 134 bpm
RR = 38 bpm
สัญญาณชีพ
PR = 134 bpm
RR = 38 bpm
ผู้ป่วยบอกว่าไปคลินิกเจาะ DTX 370 mg%
ผู้ป่วยมีอาการซึมลง
E2M5Vs
ผู้ป่วยบอกว่าไปคลินิกเจาะ DTX 370 mg%
ผู้ป่วยมีอาการซึมลง
E2M5Vs
มีการเพิ่มสลายไขมันเพิ่มมากขึ้น
ทำให้เกิด Free fatty acid เพิ่มขึ้น
ถูกเปลี่ยนเป็น Ketone
Ketone 4.07
Ketone 4.07
ผู้ป่วยชาย อายุ 33 ปี อาชีพค้าขาย โรคประจำตัว DM,HT ขาดยา 1 เดือน
5.เสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มเนื่องจากการเคลื่อนไหวร่างกายได้น้อยลง
เกณฑ์การประเมินผล
ประเมิน Glasgow coma scale (GCS) E4M6V5
เป้าประสงค์การพยาบาล
ไม่เกิดการพลัดตกหกล้ม
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินการเคลื่อนไหวร่างกายของผู้ป่วย เช่น ระบบกล้ามเนื้อ ระบบสายตา เพื่อให้การพยาบาลได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
2.บันทึกสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง เพื่อประเมินความเปลี่ยนแปลงของภาวะสุขภาพ
3.ยกไไม้กั้นเตียงขึ้นทุกครั้งหลังให้การพยาบาล เพื่อป้องกันการพลัดตกหกล้ม
4.ให้คำแนะนำญาติเกี่ยวกับจัดสิ่งของให้เป็นระเบียบเรียบร้อย หรือความเสี่ยงที่อาจจะก่อให้เกิดการพลัดตกหกล้ม เพื่อให้คำแนะนำญาติเมื่อผู้ป่วยหายจากการรักษา
5.ย้ายผู้ป่วยมาอยู่ใกล้เคาน์เตอร์พยาบาล หรือบริเวณที่มองเห็นได้ง่าย เพื่อให้การพยาบาลได้อย่างทันท่วงที
6.ติดตามอาการและอาการแสดงอย่างใกล้ชิดจนกว่าผู้ป่วยจะหายดี เพื่อป้องกันการหกล้ม
เอกสารอ้าง
กิตติภรณ บาลโพธ. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยเบาหวาน.วันที่สืบค้น 13 มิถุนายน 2564, เข้าถึงได้จาก https//www.203.157.71.139/group_sr/allfile/1418876701.pdf.
วิทวัส ศิริยงศ์. (2562). ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดภาวะหายใจล้มเหลวในผู้ป่วยปอดอักเสบที่ได้รับการรักษาเป็นผู้ป่วยในของโรงพยาบาลกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี.วันที่สืบค้น 13 มิถุนายน 2564, เข้าถึงได้จาก https//www.12_wittawat.pdf.
วันเพ็ญ บุญประเสริฐ. (2562). อุบัติการณ์และผลกระทบของการเกิดปอดอักเสบในโรงพยาบาลในหอผู้ป่วยอายุรกรรมโรงพยาบาลเชียงคำ. วันที่สืบค้น 13 มิถุนายน 2564, เข้าถึงได้จาก https//www. 186403-ไฟล์บทความ-542854-4-10-20190501.pdf.
ธนรัตน์ พรศิริรัตน์. (2560). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหายใจล้มเหลวเฉียบพลันที่ใช้เครื่องพยุงการทำงานของหัวใจและปอดECMO. วันที่สืบค้น 13 มิถุนายน2564,เข้าถึงได้จาก https//www.81424-ArticleText-196804-1-10-20170329 (1).pdf.
🚑จัดทำโดย🚑
นางสาวจามจุรี สุมาลย์ 61010004 กลุ่ม 02-20
คณะพยาบาลศาสตร์ปี 3
Chest X-ray Rt. Pleural effusion with patchy infiltration
Chest X-ray Rt. Pleural effusion with patchy infiltration