Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Pathology Dengue Hemorrhagic Fever, Pathology Dengue Hemorrhagic Fever…
Pathology
Dengue Hemorrhagic Fever
Pathology
Dengue Hemorrhagic Fever
สาเหตุ
ตำรา
ติดเชื้อไวรัสเดงกี
กรณีศึกษา
ติดเชื้อไวรัสเดงกี
อาการ
ตำรา
1.ระยะไข้ : มีไข้สูงเกือบตลอดเวลา เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง หน้า แดง และอาจมีผื่นหรือจุดเลือดออกตามลำตัว แขน ขา ระยะนี้ จะเป็นอยู่ราว 2-7 วัน
.2.ระยะช็อค ระยะนี้ไข้ลดลง: ซึม เหงื่อออก มือ เท้าเย็น pulseเบาแต่เร็ว ปวดท้อง โดยเฉพาะบริเวณใต้ชาย โครงขวา urineออกน้อย อาจมีเลือดออกง่าย ระยะนี้กินเวลา 24-48 ชั่วโมง
3.ระยะพักฟื้น อาการต่าง ๆ เริ่มดีขึ้น : รับประทานอาหารได้มากขึ้น BPสูงขึ้น Pulse แรงขึ้นและ ช้าลง Urineออกมากขึ้น
กรณีศึกษา
ระยะไข้
มีไข้สูงลอย Day3 T=38.7 องศา
ปวดเมื่อยตามข้อในร่างกาย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ปวดศีรษะมาก
BP แรกรับ 128/78 mmHg
การวินิจฉัยโรค
อาการและอาการแสดง
กรณีศึกษา
ปวดเมื่อยตามข้อในร่างกาย
ปวดศีรษะมาก
BP แรกรับ 128/78 mmHg
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
ตำรา
ระยะไข้ ระยะช็อค ระยะพักฟื้น
ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
ตำรา
CBC
WBC: > 5,000-10,000 (ตอนต้นของไข้) < 5,000-10,000 (ระยะไข้สูง)
Platelete cell < 100,000 ลูกบาศก์มิลลิเมตร
Hematocrit เพิ่มขึ้น 20% (ตอนปลายระยะไข้)
Electrolyte
Na < 135-145 mmol/L
การทำงานของตับ
transaminase สูงกว่าปกติ
โดยพบ AST สูงขึ้นมากกว่า
ALT พบค่าอัลบลูมินต่ํา
การตรวจหาไวรัส
serology
HI, ELISA, rapid test
กรณีศึกษา
CBC
WBC : 2,390 cell/cumm (8/1/62) 1,450 cell/cumm (9/1/62)
Lymphocyte 29 % (8/1/62)
47% (9/1/62)
Neutrophil 61% (8/1/62) 49% (9/1/62)
Platelete cell : 80,000 cell/cumm (8/1/62)
80,000 cell/cumm (9/1/62)
Hct : 46 % (8/1/62) 44% (9/1/62)
Electrolyte
Na : 132.1 mmol/L (8/1/62) 133.5 mmol/L (9/1/62)
K : 2.96 mmol/L (8/1/62) 3.42 mmol/L (9/1/62)
Urine Analysis
(8/1/62) Urine protein = 1+ , Ketone = 1+ , Urobilinogen = NORM, Bacteria = Few
สิ่งที่ตรวจพบ
กรณีศึกษา
ทดสอบโดย Tourniquet test =Negative
ตำรา
ทดสอบโดย Tourniquet test =positive
การรักษา
ตำรา
ทั่วไป
รักษาตามอาการ เฝ้าระวังภาวะช็อก ติดตาม BP เกร็ดเลือด Hct
ให้สารน้ำทดแทน
กรณีศึกษา
ให้สารน้ำ 5%D/N/2 1000 ml vein ratedrip 40 cc/hr ( วันที่ 8,9,10 )
เวลา 13.00 น. ปรับ rate 80 cc/hr ->>(วันที่ 11,12 ปรับ rate 40 cc/hr)
รักษาตามอาการ เฝ้าระวังภาวะช็อก ติดตาม BP เกร็ดเลือด Hct
ข้อวินิจฉัยการพยาบาล
1 มีโอกาสเกิดภาวะช็อกจากการพร่องปริมาตรในระบบไหลเวียน (Hypovolemic Shock) เนื่องจากการซึมผ่านของพลาสมาออก นอกหลอดเลือด
มีไข้เนื่องจากการติดเชื้อในร่างกาย
3.มีโอกาสเกิดเกิดภาวะเลือดออกง่ายหยุดยากเนื่องจากมีเกล็ดเลือดต่ำ
4.มีโอกาสเกิดภาวะขาดสารน้ำสารอาหาร เนื่องจากรับประทานอาหารได้น้อยจากความรู้สึกอยากอาหาร
5.ญาติผู้ป่วยวิตกกังวลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยของผู้ป่วย
6.ผู้ป่วยและญาติมีโอกาสเกิดไข้เลือดออก เนื่องจาก สภาพแวดล้อม ทางบ้าน และมีความรู้ไม่เพียงพอ ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออก