Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างและหน้าที่ของราก (ชนิดของราก (1.1รากคำจุน (ดินพยุงรากเช่น ข้าวโพด…
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
ระบบราก
รากแก้ว
พบในพืชใบเลี้ยงคูู่
มีรากแขนง
งอกจากเมล็ด
รากฝอย
แตกแขนงต่าง แพร่กระจายออกทุกทิศทาง
ขนาดรากเท่าๆกัน
พบในพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
โครงสร้างบริเวณหมวกราก
อยู่ปลายสุดของราก เซลล์เรียงตัวหลวมๆ
1.บริเวณหมวกราก
ป้องกันอันตราย อายุสั้น ขาดง่าย เมื่อกลื่น
2.บริเวณเซลล์ แบ่งตัว
เป็นบริเวณ ถัดหมวกราก
เซลล์มีขนาดเล็ก
ผนังเซลล์บาง
แบ่งเซลล์ตลอดเวลา
บริเวณเซลล์ยืดตัว
กลุ่มเซลล์ที่เจริญ
มาจากเซลล์ที่มีการแบ่งตัว
บริเวณเซลล์เจริญโตเต็ม ขนราก
เนื้อเยื่อเปลี่ยนแปลง
เซลล์เปลี่ยนแปลงไปเป็นเซลล์ขนราก
โครงสร้างภายในของราก
1.เอพิเดอร์มิส
เซลล์เรียงตัวหน้าชั้นเดียว
ผนังเซล์บางไม่มีคลอโรพลาส
เซลล์เปลี่ยนไปเป็นขนราก
2.คอร์เทกซ์
กว้างในลำต้น เซล์เรียงกันหลายแถว
เนื้อเยื่อพาเรงคี สะสมน้ำอาหาร
ในสุดเซล์เรียงตัว เรียก เอนโเดอร์มิส
3.สตีล
บริเวณถัดจากเอนโดเดอมิส
3.1 เพริไซเคิล
เซลล์ผนังบาง พบเฉาพาะในรากเท่านั้น
เป็นแหล่งกำเนิดรากแขนง
3.2 มัดท่อนลำเลียง
จะมีไซเล็ม เรียงเป็นแฉก1-6แฉก
มักมี4แฉก โฟลเอ็ม อยุ่ระหว่างแฉก
มีเนื้อเยื่อแคมเบียม
ใบเลี้ยงเดี่ยวมีแฉกมากกว่า
3.3 ไส้ไม้
เป็นบริเวณตรงกลางของรากเนื้อเยื่อพาเริงคอมา
สะสมน้ำอาหาร
พืชใบเลี้ยงคู่ ตรงกลางมักมีไซเล็ม
ชนิดของราก
1.1รากคำจุน
ดินพยุงรากเช่น ข้าวโพด
เตย ลำเจียก
ยางอินเดีย
1.2 รากเกาะ
รากออกมาจากข้อลำต้น
เช่น รากพลูด่าง พริกไทย
กล้วยไม้
1.3 รากสะสมอาหาร
ลักษณะอวบมาจากรากแก้ว
หัวผักกาด หัวไชเท้า
มันเทศ มันแกว สำปะหลัง
1.4 ราดสังเคราะห์แสง
ทำหน้าที่สังเคราะห์ เช่น รากกล้วยไม้
1.5 รากหายใจ
เป็นรากแตกแขนง จากรากใหญ่ ทำหน้าที่หายใจ
เช่น รากหายใจ แสม ลำพู โกงกาง ผักกระเฉด
1.6 รากาฝาก
เกาะอยู่กับลำต้นใหญ่ แย่งน้ำ อาหาร
1.7 รากหนาม
ออกมาจากโคน แข็งคล้ายหนาม เช่นกล้วยไม้