Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:<3:ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว : (Atrial Fibrillation หรือ A-Fib) :!!:
:<3:ภาวะหัวใจห้องบนสั่นพลิ้ว : (Atrial Fibrillation หรือ A-Fib) :!!:
:red_flag:ภาวะที่มีอัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติจากการสูบฉีดเลือดของหัวใจ โดยผู้ที่มีภาวะนี้จะมีอัตราการเต้นของหัวใจสูงกว่า 100 ครั้งต่อนาที คนทั่วไปจะมีอัตราการเต้นของหัวใจอยู่ที่ระหว่าง 60-100 ครั้งต่อนาทีในขณะที่ไม่ได้ทำกิจกรรมใด ๆ
:silhouette: ผู้ป่วยชายไทยวัยสูงอายุ อายุ 74 ปี
อาการปัจจุบัน :
ผู้ป่วยมาดดยรถเข็นนั่งให้ประวัติว่า 3 ชั้วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการหายใจเหนื่อย ไอ มีอาการตัวร้อน
อาการสำคัญ :
มีอาการหายใจหอบเหนื่อย 3 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
อาการแรกรับ :
ผู้ป่วยหายใจเหนื่อย ไอ มีอาการตัวร้อน lung clearBL ไม่มีแขนขาอ่อนแรง ไม่มีเจ็บแน่นหน้าอก
:warning:อาการของAtrial Fibrillation
อาการใจสั่น
อาการอ่อนแรง เหนื่อยง่าย
ความสามารถในการออกกำลังกายลดลง
อ่อนเพลีย
วิงเวียนศีรษะ มีอาการมึนงง
หายใจถี่ หรือหายใจไม่ออก เจ็บหน้าอก
:silhouette:อาการของผู้ป่วย
หายใจหอบเหนื่อย
อาการที่เกิดขึ้นแบ่งออกได้เป็น 5 ชนิด ได้แก่
:silhouette:
เกิดขึ้นครั้งแรก
เป็นภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะที่ตรวจพบครั้งแรก โดยไม่เคยเกิดอาการนี้มาก่อน
เกิดเป็นครั้งคราว
หรือมีอีกชื่อหนึ่งว่า ภาวะหัวใจห้องบนเต้นสั่นพริ้วชนิดอัตราหัวใจเต้นเร็วชั่วขณะ (Paroxysmal) เป็นอาการที่เกิดขึ้นเพียงชั่วขณะ โดยอาจกินเวลาไม่กี่นาที ไปจนถึงหลายชั่วโมงแล้วหายกลับเป็นปกติโดยไม่ต้องรักษา
เกิดอย่างสม่ำเสมอ
ผู้ป่วยที่มีอาการอย่างต่อเนื่อง จะมีจังหวะการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติไปจากเดิมและไม่สามารถกลับมาเป็นปกติได้ เว้นแต่จะได้รับการรักษาด้วยการกระตุ้นไฟฟ้า หรือการใช้ยา จึงจะกลับมาเป็นปกติได้
เกิดอย่างสม่ำเสมอติดต่อกันเป็นเวลานาน ๆ
หากภาวะดังกล่าวเกิดขึ้นติดต่อกันนานกว่า 12 เดือน จะถูกจัดเป็นผู้ป่วยที่มีกลุ่มนี้ ซึ่งต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง
เกิดขึ้นถาวร
ผู้ป่วยในกลุ่มดังกล่าวจะมีจังหวะการเต้นของหัวใจที่ผิดปกติอย่างถาวร และไม่สามารถรักษาให้หายได้ ทำได้เพียงรับการรักษาเพื่อควบคุมการเต้นของหัวใจให้ใกล้เคียงปกติมากที่สุด
:star:สาเหตุของ Atrial Fibrillation
ประวัติครอบครัว
ในครอบครัวที่มีความผิดปกติทางพันธุกรรมจนก่อให้เกิดภาวะ Atrial Fibrillation มักทำให้เสี่ยงต่อการเกิดความผิดปกติ
:silhouette:ปฎิเสธญาติสายตรง (พ่อแม่พี่น้อง)ญาติชายอายุน้อยกว่า 55ปี ญาติหญิงอายุน้เอยกว่า 65 ปี เป็นโรคหัวใจขาดเลือด โรคอัมพาต โรคความดันโลหิตสูง
อายุ
ผู้ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไปจะยิ่ง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะดังกล่าวมากขึ้น
:silhouette:ผู้ป่วยชายไทยวัยสูงอายุ อายุ 74 ปี
การใช้ยา
มีการสันนิษฐานว่าการใช้สเตียรอยด์ในการรักษาโรคหอบหืด หรือเกิดการอักเสบ อาจกระตุ้นให้เกิดอาการได้มากขึ้น
:silhouette:ผู้ป่วยปฏิเสธการใช้ยาสเตียรอยด์
และรับยาความดันโลหิตต่อเนื่อง
โรคหัวใจ
ผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของหัวใจอยู่ก่อนแล้วมีความเสี่ยงที่จะเกิดภาวะนี้ได้สูงเมื่อเทียบกับคนทั่วไป เนื่องจากหัวใจทำงานไม่เต็มประสิทธิภาพ
:silhouette:ผู้ป่วยปฏิเสธประวัติการเป็นโรคหัวใจ
ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ
:silhouette:
ความดันโลหิตสูง
4 ปี รับยาต่อเนื่อง
ไทรอยด์เป็นพิษ
โรคอ้วน
โรคเบาหวาน
ภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ
การติดเชื้อไวรัส
โรคปอด
:silhouette:
ผู้ป่วยมีประวัติไอเรื้อรัง
มา 2 อาทิตย์รักษาที่คลินิคหมอทหาร มียากิน
:pencil2:การวินิจฉัย Atrial Fibrillation
:silhouette:นั่ง/นอนพักอย่างน้อย 5 นาที
:silhouette:เริ่มวัดชีพจรโดยวัดจำนวนชีพจร 1 นาที
:silhouette:การตรวจคลื่นหัวใจไฟฟ้า EKG (Elektrokardiogram) EKG -> AF rate 131,172/min
การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
ในกรณีที่แพทย์ต้องการผลการตรวจที่ละเอียดมากขึ้นเครื่องจะมีลักษณะเป็นกระเป๋าคาดที่เอว หรือที่ไหล่ ซึ่งค่อยช่วยเก็บข้อมูลเกี่ยวกับการทำงานของหัวใจตลอด 24 ชั่วโมง
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจด้วยเครื่องแบบพกพา (Event Recorder) ผู้ป่วยที่หัวใจเต้นผิดปกติเป็นครั้งคราวดยเครื่องดังกล่าวจะถูกใช้เมื่อมีอาการเท่านั้น
การตรวจอัลตราซาวด์หัวใจ (Echocardiogram)
การตรวจเลือด
การทดสอบสมรรถภาพของหัวใจ (Stress Test)
การเอกซเรย์ทรวงอก
:smiley: การรักษาAtrial Fibrillation
:recycle:การใช้ยา
ยาควบคุมจังหวะการเต้นของหัวใจ
ยาโพสแทสเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์
ยาโซเดียมแชนแนลบล็อกเกอร์
ยาละลายลิ่มเลือด
ยาวาฟาริน
ยาเฮพาริน
ยาอะพิซาแบน
ยาดาบิกาทราน
ยาควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ
ยาแคลเซียมแชนแนลบล็อกเกอร์
ยาไดจอกซิน
ยาเบต้าเตอร์บล็อกเกอร์
:silhouette:ผู้ป่วยทำ EKG at ER -> AF rate 131,172/min รายงานเเพทย์ได้รับ 5% D/W 100 cc + Amidarone 150 mg vein drip in 15 min
:silhouette:ทำ EKG ซ้ำ หลังให้ยาวัดความดันซ้ำ 133/76 mm.Hg ชีพจร 126 ครั้ง/นาที
:silhouette:แพทย์ให้ 0.9% NSS 1000 cc vein drip load 1000 cc วัดความดันซ้ำ 164/79 mm.Hg ชีพจร 114 ครั้ง/นาที
การรักษาด้วยวิธีกระตุ้นไฟฟ้า
การผ่าตัด
การใส่เครื่องกระตุ้นหัวใจ
ภาวะแทรกซ้อนของ Atrial Fibrillation
:!:
โรคหลอดเลือดสมอง
หัวใจวาย
:lock:การป้องกัน Atrial Fibrillation
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ
ควบคุมน้ำหนัก
การเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
หลีกเลี่ยงการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ และการสูบบุหรี่
ลดความเสี่ยงได้ด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิต