Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อาจารย์เถียร โพธินันทะ โดย พิ้งค์ (ประวัติ (เกิดเมื่อ: 17 มิถุนายน 2472,…
อาจารย์เถียร โพธินันทะ โดย พิ้งค์
ประวัติ
เกิดเมื่อ: 17 มิถุนายน 2472, เขตสัมพันธวงศ์, กรุงเทพมหานคร
เสียชีวิตเมื่อ: 9 ธันวาคม 2509, กรุงเทพมหานคร
บิดา: นายเป้งซ้ง แซ่ตั้ง
อาชีพ: นักวิชาการพระพุทธศาสนา
มารดา: นางมาลัย กมลมาลย์
สนชาติ:ไทย
อุปนิสัยรักการศึกษาค้นคว้า
อาจารย์เสถียร มีความจำเป็นเลิศมาแต่วัยเยาว์ เมื่ออ่านหนังสืออะไรก็สามารถเล่าได้อย่างละเอียดถี่ถ้วน
เด็กชายเสถียรก็เป็นผู้หนึ่งที่มีความสามารถเล่าเรื่องผู้ชนะสิบทิศตามสำนวนของยาขอบได้ดี
เด็กชายเสถียรจะใช้เวลาเพียง 2-3 ชั่วโมงเท่านั้นก็อ่านจบแล้วเล่าเรื่องได้ตลอด หรือท่องจำได้
วัยเด็ก
เมื่อมีอายุพอจะรับการศึกษาได้ มารดาจึงได้นำไปฝากให้เรียนในโรงเรียนราษฎรเจริญ
ได้ศึกษาต่อชั้นมัธยมที่โรงเรียนมัธยมวัดบพิตรพิมุขจนจบการศึกษาชั้นมัธยมปีที่ 5 จึงได้ลาออก
อาจารย์เสถียรอายุได้ 13–14ปีก็ชอบท่องเที่ยวไปตามวัดต่าง ๆ ทั้งวัดจีน วัดญวน และวัดไทย วัดไทยที่ชอบไปคือวัดจักรวรรดิราชาวาส เพื่อไปสนทนาไต่ถามเรื่องราวต่าง ๆ ทางศาสนากับพระสงฆ์
เมื่อจบชั้นมัธยมปีที่ห้าแล้ว จึงได้เข้าศึกษาภาษาจีนที่โรงเรียนเผยอิง
คุณเสถียรได้ทำหน้าที่ล่ามให้ถึง 3 ครั้ง ครั้งแรกคุณเสถียรมีอายุเพียง 17 ปีเท่านั้น
ได้แสดงปาฐกถาด้วยตนเองครั้งแรกที่พุทธสมาคมแห่งประเทศไทยเมื่ออายุ 18 ปี
ก่อตั้งยุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย
เมื่ออาจารย์เสถียร โพธินันทะมีอายุราว 17 เมื่ออาจารย์เสถียร โพธินันทะได้เชิญให้อาจารย์เสถียร โพธินันทะซึ่งเป็นศิษย์ในวัดกันมาตุยารามไปบรรยายธรรมะให้พุทธศาสนิกชนฟัง
ได้สร้างความประทับใจแก่ผู้ฟังเป็นอย่างมาก ที่เห็นวัยรุ่นอายุยังไม่ครบ 20 ปีสามารถบรรยายธรรมได้อย่างแตกฉาน
อาจารย์เสถียร โพธินันทะอายุได้ 20 ปีเพื่อขอจดทะเบียนเป็นสมาคม พระพรหมมุนี จึงตั้งชื่อให้ว่ายุวพุทธิกสมาคมแห่งประเทศไทย ตั้งแต่บัดนั้น
เกียรติคุณด้านปาฐกถา
อาจารย์เสถียร โพธินันทะมีงานสำคัญที่ปฏิบัติตลอดมาคือการแสดงปาฐกถาเกี่ยวกับวิชาการทางด้านพระพุทธศาสนา ปรัชญา และประวัติศาสตร์
เป็นนักปาฐกถาชั้นเยี่ยมที่มีคนนิยมมาก เพราะเป็นผู้มีความรู้กว้างขวาง มีความจำดี ชอบค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ
เห็นว่าสำคัญพอจะท่องจำไว้ได้ก็ท่องจำไว้ทีเดียว และด้วยมีความรู้หลายภาษาจึงสามารถศึกษาได้กว้างขวางลุ่มลึก เป็นที่ถูกอกถูกใจแก่บรรดาปัญญาชนผู้ใฝ่หาความรู้