Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์ (5.2.3 เซ็นเซอร์ (sensor) (เซ็นเซอร์…
อุปกรณ์ไฟฟ้า และอิเล็กทรอนิกส์
5.2.1 มอเตอร์ (motor)
มอเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่แปลงพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานกล
แต่ละประเภทมีคุณสมบัติแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของการใช้งาน แบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
1) มอเตอร์กระแสไฟฟ้าตรง เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง เช่น เซลล์ไฟฟ้า มอเตอร์ประเภทนี้สามารถควบคุมการหมุนได้
2) มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับแหล่งจ่ายไฟฟ้าที่ใช้ในบ้านเรือน ส่วนใหญ่จะเห็นมอเตอร์ไฟฟ้าที่มีลักษระการเคลื่อนไหวแบบหมุน เช่น เครื่องซักผ้า พัดลม
5.2.3 เซ็นเซอร์ (sensor)
เซ็นเซอร์ เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการเปลี่ยนปริทาณทางกายภาพให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า เซ็นเซอร์พื้นฐานที่น่าสนใจมีดังต่อไปนี้
1)เซ็นเซอร์ตรวจจับการสัมผัส
สวิตช์กลไก
เป็นอุปกรณ์แบบกลไก ทำหน้าที่ตัด ต่อ วงจรไฟฟ้าเมื่อได้รับแรงกด
2)เซ็นเซอร์ตรวจจับแสง (optical sensor)
แอลดีอาร์ (LDR)
ตัวต้านทานแปรความสว่างของเเสงโดยที่ความสว่างของแสงเป็นสัดส่วนผกผันกับค่าความต้านทาน
โฟโตไดโอด
เปลี่ยนแสงให้เป็นพลังงานไฟฟ้า โดยค่าการนำกระแสไฟฟ้าจะมากขึ้นเมื่อความเข้มแสงมากขึ้น ใช้ในงานในวงจรเปิด-ปิดไฟถนนอัตโนมัติ
เซ็นเซอร์ตรวจจับอุณหภูมิ
RTD
หลักการที่ค่าความต้าานทานมีการเปลี่ยนเเปลงขึั้น
อยู่กับค่าอุณหภูมิมักใช้ในงานอุตสาหกรรมเนื่องจากมีราคาแพง
เทอร์โมคัปเปิล
เปลี่ยนพลังงานความร้อนเป็นพลังงานไฟฟ้าอุปกรณ์นี้จึงมักจะประยุกต์ใช้ในการตรวจวัดอุณหภูมิในตู้เย็นเละเครื่องปรับอากาศในรถยนต์
เซ็นเซอร์ตรวจจับเสียง
คอนเดนเซอร์ไมโครโฟน
เปลี่ยนเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าของคอนเดนเซอร์ไมโครโฟนจะขึ้นกับค่าความดังและความถี่เสียงไมโครโฟนนี้นำไปใช้กับโทรศัพท์ไร้สาย
อัลตราโซนิกเซ็นเซอร์
เปลี่ยนเสียงเป็นพลังงานไฟฟ้าจะตอบสนองเฉพาะช่วงความถี่ประมาณ 38-40 กิโลเฮิรตซ์ซึ่งสูงกว่าที่มนุษย์ได้ยิน จึงนำไปใช้ในการวัดระยะทาง
5.2.2อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (electronics)
1)ตัวต้านทาน (resistor)
เป็นอุปกรณ์ที่มีคุณสมบัติในการต้านการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม ตัวต้านทานมีค่ามากกระแสไฟฟ้าจะผ่านได้น้อย
2)ตัวเก็บประจุ (capacitor)
ทำหน้าที่เก็บสะสมประจุไฟฟ้า โดยนำสารตัวนำ2ชิ้นมาวางในลักษณะขนานกัน โดยระหว่างตัวนำ2ตัวนี้จะถูกกั้นด้วยฉนวน คือ ไดอิเล็กตริก (dielectric) ซึ่งอาจจะเป็นอากาศ ไม้ก้า พลาสติก หรือสารที่มีสภาพคล้ายฉนวนอื่นๆ
3)ไดโอด (diode)
ทำหน้าที่ควบคุมทิศทางการเคลื่อนที่ของกระเเสไฟฟ้า และป้องกันกระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ย้อนกลับในปัจจุบันมีไดโอดหลายประเภทที่นิยมใช้
ไดโอดธรรมดาและเปล่งแสง
ทำจากสารกึ่งตัวนำ มีคุณสมบัติยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ทางเดียว