Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคายน้ำ (ปากใบ (รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว, ผนังด้านในจะหนากว่าด้านนอก,…
การคายน้ำ
ปากใบ
รูปร่างคล้ายเมล็ดถั่ว
ผนังด้านในจะหนากว่าด้านนอก
ประกอบด้วยเซลล์คุม1คู่
เซลล์คุมมีคลอโรพลาสต์
เอพิเดอร์มิสและเซลล์อื่นๆไม่มีคลอโรพลาสต์
ปัจจัยที่ควบคุม
การคายน้ำ
ความชื้นในอากาศ
ความชื้นสูงพืชคายน้ำได้น้อย
กระแสลม
พัดพาไอน้ำที่คายออกกระจายออก
การคายน้ำเกิดขึ้นได้ดี
อุณหภูมิ
อุณหภูมิสูงมากหรือต่ำมากปากใบจะปิด
อุณหภูมิสูงเอนไซม์ที่เกี่ยวกับ
การสังเคราะห์ด้วยแสงทำงานได้ไม่ดี
ปริมาณน้ำในดิน
อุณหภูมิสูงทำให้คายน้ำมากกว่าดูดน้ำปากใบจะปิด
ถ้าปริมาณมากพืชคายน้ำมาก
ความเข้มของแสง
แสงทำให้ปากใบเปิด
ความมืดทำให้ปากใบปิด
บริเวณที่พบปากใบ
ของพืชชนิดต่างๆ
พืชปริ่มน้ำพบทางด้านบนของใบ
พืชจมน้ำจะไม่มีปากใบ
พืชบกพบทางด้านล่างของใบ
พืชที่กันดารปากใบจะจมลึก
กำจัดออก
ทางต่างๆดันนี้
ทางผิวใบ
(cuticular transpiration)
ประมาณร้อยละ 10
ทางรอยแตกที่เปลือกไม้
(lenticular transpiration)
ทางปากใบ
(stomata transpiration)
ประมาณร้อยละ 80-90
กลไกการเปิด-ปิดปากใบ
:
การเปิด-ปิดของปากใบขึ้นอยู่
กับการเพิ่มหรือลดเเรงดันเต่ง