Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Rupture Rt. MCA bifurcation aneurysm image (11 แบบแผน (แบบแผนที่ 1
…
Rupture Rt. MCA bifurcation aneurysm
ข้อมูลทั่วไป
ผู้ป่วยชายไทย อายุ 49 ปี
CC: ปวดศีรษะมากขึ้น 3ชม. ก่อนมาโรงพยาบาล
PI : 3hr PTA ขณะผู้ป่วยเล่นโทรศัพท์ มีอาการปวดศีรษะขึ้นมาทันที หลับปลุกตื่นยาก หลังจากตื่นนำผู้ป่วยส่งโรงพยาบาล ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง ไม่มีสับสน ไม่มีตาพร่า ไม่มีอาการแขนขาอ่อนเเรง ไม่มีบ้านหมุน ไม่มีไข้ ไม่มีคลื่นไส้อาเจียน ไม่มีเดินเซ
PH : no U/D
Diagnosis : Ruptured right MCA bifurcation aneurysm
ผ่าตัดวันที่6/01/62 : craniotomy with clipping aneurysm
11 แบบแผน
แบบแผนที่ 1
ผู้ป่วยรับรู้ว่าตนเองป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง ต้องรักษาโดยการผ่าตัด และรับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ไม่แพ้ยาแพ้อาหาร สูบบุหรี่วันละ1ซอง เป็นเวลามากกว่า 40 ปี ดื่มเบียร์ 1-2 แก้วต่อเดือนเป็นเวลามากกว่า 40 ปี
แบบแผนที่ 2
ก่อนป่วยผู้ป่วยชื่นชอบรับประทานอาหารมันเค็ม ปัจจุบันผู้ป่วยรับประทานอาหารธรรมดา รับประทานครบ3มื้อ ดื่มน้ำวันละ1-2 L/Day
แบบแผนที่ 3
ผู้ป่วย on Foley's catch ปัสสาวะสีเหลืองใส
ผู้ป่วยอุจาระได้เอง ลักษณะเป็นก้อน สีเหลือง อ่อนนุ่ม
แบบแผนที่ 4
ก่อนป่วยผู้ป่วยช่วยเหลือตัวเองได้ ปัจจุบันอ่อนเเรงข้างซ้าย ช่วยเหลือตัวเองได้บ้าง เช่นการสวมใส่เสื้อผ้า การเข้าห้องน้ำ ไม่มีประวัติเป็นลม หายใจขัด เจ็บหน้าอก หอบเหนื่อย ความดันโลหิตสูง Muscle power grade 3 at all หายใจ 20 ครั้ง/นาที จังหวะ สม่ำเสมอ หายใจ room air. Oxygen saturation 100% ความดันโลหิต 149/101 mmHgเสียงปอด on cepitation, clear both lung
-
แบบแผนที่ 6 การรับรู้ การมองเห็น การได้ยิน ได้กลิ่น รับรส ปกติ ไม่มีอาการเหน็บชา ผู้ป่วยรับรู้บุคคล สถานที่ ไม่มีสับสนเรื่องเวลา บางครั้งเเยกกลางคืนกลางวันได้ ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี พูดคุยโต้ตอบได้ E4V5M6
แบบแผนที่ 7 ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าและมีความหมายกับครอบครัว ไม่พบการเปรียบเทียบตนเองระหว่างป่วยและก่อนป่วย
แบบแผนที่ 8 ผู้ป่วยเป็นหัวหน้าครอบครัว มีสัมพันธภาพกับคนในครอบครัวดี การเจ็บป่วยไม่มีผลกระทบกับรายได้ของครอบครัว
แบบแผนที่ 9
ผู้ป่วยรับรู้ว่าตนเองเป็นเพศชาย มีภรรยา 1 คน มีบุตร 1 คน อวัยวะสืบพันธ์ ไม่มีdischarge ซึม ไม่พบความผิดปกติ
แบบแผนที่ 10
เป็นคนชอบเข้าสังคมอารมณ์ดี เวลาเครียดจะเล่าให้ภรรยาฟัง เมื่อมีความเครียด จะปวดศีรษะ และมีหน้านิ่วคิ้วขมวด
-
พยาธิสภาพ
สาเหตุ
-
ปัจจัยเร่งที่ทำให้สภาพหลอดเลือดมีความเสื่อมมากขึ้นและเร็วขึ้น ได้แก่ โรคความดันสูง เบาหวาน หรือสูบบุหรี่มาเป็นเวลานาน
-
-
-
ผู้ที่มีอาการปวดศีรษะเรื้อรัง, ปวดศีรษะแบบไมเกรน, อยู่ในภาวะเครียดจากการเรียนหรือการทำงาน
อาการ
-
-
3.รายที่ล้มหมดสติและมีเลือดออกในสมอง (subarachnoid hemorrhage) รุนแรงและปริมาณมากผู้ป่วยอาจเสียชีวิตได้ทันที
4.นอกจากนี้อาจมาด้วยอาการอื่น เช่น มีอาการเตือนก่อน มีปวดศีรษะไม่มาก, อาการชัก, อาการของการกลอกตาผิดปกติซึ่งมักพบอาการเส้นประสาทสมองที่ 3 ผิดปกติทำให้กลอกตาเข้าในไม่ได้ มีม่านตาโต หรือเส้นเลือดโป่งพองมีขนาดใหญ่ไปกดสมองทำให้มีอาการได้
-
การตรวจวินิจฉัย
1.เอกซเรย์คอมพิวเตอร์สมองความเร็วสูง (CT Multi-slice) ช่วยวินิจฉัยโรคได้ว่ามีเส้นเลือดแตกในช่องน้ำหล่อเลี้ยงสมอง ทำให้เห็นก้อนเลือด น้ำคั่งในสมอง สมองบวม สมองขาดเลือดได้ นอกจากนี้ลักษณะของเลือดที่ออกช่วยให้ทำนายได้ว่าเส้นเลือดโป่งพองอยู่ตำแหน่งใด บางครั้งอาจเห็นเส้นเลือดโป่งพองได้
2.การตรวจหลอดเลือดสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRA) ทำให้เห็นเส้นเลือดโป่งพองได้ดีขึ้น มีความไว ความจำเพาะที่สูง อาจใช้การตรวจวิธีนี้อย่างเดียวโดยไม่ทำ angiography เหมาะในโรงพยาบาลที่ไม่มีความพร้อมในการทำ angiography แต่ถ้าเส้นเลือดโป่งพองขนาดเล็กกว่า 3 mm อาจมองไม่เห็น
3.การตรวจหลอดเลือดสมองด้วยการฉีดสารทึบสารรังสี (Angiogram)เป็นมาตรฐานในการวินิจฉัยดูว่ามีเส้นเลือดโป่งพองในสมอง และสามารถดู hemodynamic ได้
-
การรักษา
การผ่าตัดแล้วใช้คลิปหนีบไว้ (surgical clipping) เป็นการผ่าตัดเข้าไปหนีบ (clipping) เส้นเลือดโป่งพองที่คอของเส้นเลือดโดยไม่ทำให้เส้นเลือดที่ดีอุดตัน
การใช้การรักษาจากภายในหลอดเลือด (endovascular treatment) เป็นการใส่สายสวนเข้าที่ขาหนีบแล้วปล่อยขดลวด (coil) เข้าไปอุดตันเส้นเลือดโป่งพอง
ให้ยาต้านแคลเซียม (Calcium channel blockers) เพื่อลดการหดเกร็งของหลอดเลือด (Vasospasm) ของสมองที่เป็นผลข้างเคียงจากหลอดเลือดโป่งพอง ที่จะส่งผลให้เกิดภาวะสมองขาดเลือดตามมา
ให้ยาแก้ปวดศีรษะ ให้ยากันชัก
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
- เสี่ยงต่อภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง (IICP) เนื่องจากมีเลือดออกในสมอง
ข้อมูลสนับสนุน
OD : CT brain พบ Rt. MCA bifurcation aneurysm
OR. Craniotomy c cipping aneurysm (06/01/62)
GCS E4V5M6 motor power แขนและขาข้างทั้ง2ข้าง เกรด 3
Pupil 2 mm. react to right both eyes
-
เกณฑ์การประเมินผล
- ไม่มีอาการและอาการแสดงของความดันโลหิตในกะโหลกศีรษะสูงเพิ่มขึ้นจากเดิม
- Motor power ไม่ลดลงจากเดิม
- การขยาย Pupil ไม่ลดลงจากเดิม คือ Pupil size ของตาทั้งสองข้างอยู่ระหว่าง 2-3 mm
- คะแนน Glasgow coma scale ≥ 6 คะแนน
- สัญญาณชีพปกติ อัตราการหายใจอยู่ในช่วง 20-24 ครั้ง/นาที ชีพจรอยู่ในช่วง 60-100 ครั้ง/นาที Pulse pressure ≤ 40 mmHg
กิจกรรมการพยาบาล
1 ประเมินภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง ดังนี้ ระยะแรก : กระสับกระส่าย ปวดศีรษะเป็นพักๆ รูม่านตาปกติ อ่อนแรง ระยะท้าย : ปวดศีรษะมาก ตาพร่ามัว รูม่านตาขยายทั้งสองข้าง และไม่ตอบสนองต่อแสง พบกลุ่มอาการ cushing's triad ได้แก่ PP กว้าง ชีพจรช้า หายใจไม่สม่ำเสมอ มีไข้ไม่ทราบสาเหตุ อาเจียนพุ่ง
2 ดูแลจัดท่าศีรษะสูง 30 องศา คอไม่พับงอ ดูแลจัดศีรษะและคออยู่แนวเดียวกับลำตัวไม่งอข้อสะโพกเกิน 90 องศา เพื่อทำให้การไหลเวียนเลือดดำจากสมองกลับสู่หัวใจและการไหลเวียนของน้ำหล่อสมองลงช่องไขสันหลังตามแรงโน้มถ่วงของโลก
3 ติดตามวัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมงและ O2 satเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย เช่น มีไข้ และ pulse pressure มากกว่า 40 องศา
4 สังเกตและบันทึกอาการและอาการแสดงทางระบบประสาท บันทึกระดับความ
รู้สึกตัว ปฏิกิริยาของรูม่านตาและการเคลื่อนไหวเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง
- ถ้าอุณหภูมิร่างกายสูง 38 ควรเช็ดตัวลดไข้เพื่อลดอัตราการเผาผลาญอาจทำให้สมองบวม
- แนะนำให้ผู้ป่วยหลีกเลี่ยงกิจกรรมต่างๆที่ทำให้เกิดแรงเบ่ง เช่น การเบ่งอุจจาระ การไอจามแรงๆเพื่อป้องกันภาวะความดันในกระโหลกศีรษะสูง
- ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับการทำ Lumbar puncture for release เพื่อรักษาของระดับน้ำในสมองให้สมดุล
-
ประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง เช่น อาเจียนพุ่ง เวียนศีรษะ ตามัว ระดับความรู้สึกตัวลดลงระดับสัญญาณชีพของผู้ป่วย BP systolic อยู่ในช่วง 146-153 mmHg diastolic อยู่ในช่วง 97-103 mmHg temperature 36.5-37.0 องศาเซลเซียส GCS E4V5M6 pp 2+ BE
- เสี่ยงต่อภาวะหลอดเลือดสมองหดเกร็งเนื่องจาก
ประเมินผล
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงเช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน สับสน หรือซึมลงระดับสัญญาณชีพของผู้ป่วย BP systolic อยู่ในช่วง 146-153 mmHg diastolic อยู่ในช่วง 97-103 mmHg GCS E4V5M6 pp 2+ BE
กิจกรรมการพยาบาล
- ติดตามการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย Hct Hb
- ดูแลให้ได้รับการรักษาตามหลัก Tripple H
4.1.Hypertension : ดูแลให้ได้รับยา Levophad 4 mg + 5% DW 250 ml V drip 10-60 ml/hr และ ยา Nimodipine 50 ml V drip 3 cc/hr keep BP systolic อยู่ระหว่าง 110-160 mmHg
4.2. Hypervolemia expansion : 0.9%Nacl 1000ml + Vit C 1000 mg V rate 60 cc/hr เพื่อปริมาตรในหลอดเลือดและลดความหนืดของเลือด
4.3. Hemodilution เพื่อเพิ่ม cerebral blood flow ลดความเข้มข้นของเลือด
- ประเมิน neuro signs เพื่อติดตามระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
- ประเมินความดันโลหิตทุก 4 ชั่วโมงเพื่อติดตามอาการเปลี่ยนแปลงของร่างกาย เช่น ความดันโลหิตต่ำ keep BP systolic อยู่ระหว่าง 110-160 mmHg
- สังเกตอาการและอาการแสดงของภาวะหลอดเลือดหดเกร็ง เช่น ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน สับสน หรือซึมลง
-
-
ข้อมูลสนับสนุน
SD ผู้บอกว่า ปวดศีรษะมาก
OD : CT brain พบ Rt. MCA bifurcation aneurysm
OR. Rt transsqlian approach with clipping of aneurysm with coating at Blood Bliolar (06/01/62 post op day 11 ) Hct 36.4 % (ต่ำ) Hb 12.5 g/dl (ต่ำ)
BP 151/103 mmHg (15/01/62)
-
-
-