Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคกระดูกคอเสื่อม cervical spondylotic myelopathy (ข้อมูลผู้ป่วย…
โรคกระดูกคอเสื่อม
cervical spondylotic myelopathy
พยาธิสภาพตามทฤษฎี
เมื่ออายุมากขึ้น ligamentum flavum จะสูญเสียภาวะยืดหยุ่น (elasticity) ตามความเสื่อมของร่างกาย และมีการหนาตัวขึ้น uncovertebral joint ทำให้ข้อต่อนี้แคบลง
จนมีการเบียดหรือกดทับประสาทไขสันหลัง หรือกดเส้นเลือดที่มาเลี้ยงบริเวณไขสันหลังนั้น
ทำให้เกิดการกดทับรากประสาท (cervical spondylotic radiculopathy) ทำให้มีผลต่อระบบประสาทรับความรู้สึก ระบบของกล้ามเนื้อและระบบกระดูกของอวัยวะที่อยู่ส่วนล่างทำงานผิดปกติ
คือ ภาวะความผิดปกติที่เกิดจากช่องกระดูก (Spinal canal) แคบลง ทำให้กดทับประสาทไขสันหลังหรือเส้นเลือดที่มาเลี้ยงบริเวณไขสันหลัง ทำให้มีการเสื่อมของหมอนรองกระดูก
ร่างกายจะตอบสนองต่อการเสื่อมนี้โดยการสร้างหินปูน(spondylotic bars หรือ osteophytes) ซึ่งถ้ายืนไปด้านหลังก็อาจมีผลทำให้ spinal canal แคบลง
ข้อมูลผู้ป่วย
แพทย์วินิจฉัย : Cervical Spondylotic Myelopathy C4-C5
โรคประจำตัว : .............................
PI : 11 สัปดาห์ ก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการแขนและขาอ่อนแรงมากขึ้น และผู้ป่วยต้องใส่แพมเพิสเนื่องจากผู้ป่วยเริ่มมีอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ตรวจ MRI ผลตวรจพบว่ามี Spinal Cord Compression
ประวิติครอบครัว ...........................
cc : แขนขาอ่อนแรงมากขึ้น กลั้นปัสสาวะไม่ได้ 11 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล
พยาธิสภาพ
30 ปี ก่อน ผู้ป่วยมีอาชีพเป็นเกษตรกร แบกและยกของหนักอยู่เป็นประจำ มีอาการปวดชาต้นขาเป็นๆหายๆ 1 ปี ก่อนมา มีอาการปวดชาที่มือและขามากขึ้น และมีอาการเดินเซ และมีอาการขาอ่อนแรงร่วมด้วย
เกิดจากช่องกระดูก (Spinal canal) แคบลง จากการรับของน้ำหนักมากเป็นเวลานาน ทำให้เกิดการกดทับประสาทไขสันหลังหรือเส้นเลือดที่มาเลี้ยงบริเวณไขสันหลัง ทำให้มีการเสื่อมของหมอนรองกระดูก
การรักษา : แพทย์ให้ยากินรักษา แต่ยังคงมีอาการเป็นๆหายๆ สามารถเดินได้และทำงานได้ปกติ
ต่อมาผู้ป่วยมีอาการแขนขาอ่อนแรง และหกล้มไปด้านหน้า คางกระแทกพื้น คางแตก จำเหตุการณ์ได้ ไม่หมดสติ ต่อมาผู้ป่วยมีอาการหันหน้าซ้าย ขวาได้ยากมากขึ้น และมีอาการชาปลายมือปลายเท้ามากขึ้นผู้ป่วยต้องใส่แพมเพิสเนื่องจากผู้ป่วยเริ่มมีอาการกลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่ได้
จากการหกล้มทำให้มีการเกิดการกดทับรากประสาทมากขึ้น (cervical spondylotic radiculopathy) ทำให้มีผลต่อระบบประสาทรับความรู้สึก ระบบของกล้ามเนื้อและระบบกระดูกของอวัยวะที่อยู่ส่วนล่างทำงานผิดปกติ
ได้รับการรักษา : ตรวจร่างกายที่คลิกนิกในจังหวัดกาฬสินธุ์ แพทย์ X-ray พบ Spinal Cord Compression และ นัดทำ MRI ที่ รพ.ศรีนครินทร์ แพทย์อ่านผล MRI วินิจฉัยว่าเป็น Cervical Spondylotic Myelopathy C4-C5
การตรวจร่างกาย
ผู้ป่วยมีอาการปวดชาปลายมือปลายเท้า
มีแขนอ่อนแรงทั้ง2ข้าง motor power grade 2 ขาอ่อนแรงทั้ง 2 ข้าง motor power grade 0
มีปัญหากลั้นปัสสาวะและอุจจาระไม่อยู่
หันหน้าไปด้านซ้ายและขวาไม่สุด เงยหรือก้มศรีษะลำบาก