Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะคลอดยาก(Obstructed labor) คลอดเนิ่นนาน(Prolonged labor) (สาเหตุ…
ภาวะคลอดยาก(Obstructed labor)
คลอดเนิ่นนาน(Prolonged labor)
ความหมาย
การคลอด (Labor)
การคลอดผิดปกติ (Abnormal Labor)
ภาวะคลอดยาก
การคลอดเนิ่นนาน (Prolonged labour)
สาเหตุ
สาเหตุมาจากแรงบีบตัวของมดลูก
มดลูกหดรัดตัวน้อยกว่าปกติ
มดลูกหดรัดตัวแรงมากผิดปกติ
สาเหตุมาจากช่องทางคลอดที่ผิดปกติ
เชิงกรานแคบ
ปากมดลูกบวม
มดลูกคว่ำ
ปากมดลูกตีบ
ปัสสาวะเต็ม
มีอุจจาระขวางอยู่
สาเหตุมาจากตัวทารก น้ำคร่ำ และรก
ทารกมีรูปร่างผิดปกติ
ทารกอยู่ในท่าขวาง
ทารกหนักมากกว่า 4000 กรัม
ทารกมีส่วนนำผิดปกติ
รกเกาะต่ำ และน้ำคร่ำน้อย
สาเหตุมาจากสุขภาพจิตของผู้คลอด
ความกังวลเกี่ยวกับการคลอด
ความกลัว
สาเหตุมาจาก ภาวะสุขภาพร่างกายของผู้คลอด
มีอาการอ่อนเพลีย พักได้น้อย
มารดาที่มีสุขภาพอ่อนแอ
ขาดน้ำ
ได้รับอุบัติเหตุ บริเวณกระดูกอุ้งเชิงกราน
โรคประจำตัว
สาเหตุมาจากท่าของผู้คลอด
ท่านอนหงาย
ประเภท
การผิดปกติของการคลอดในระยะ latent phase
latent phase ยาวนานกว่า 20 ชั่วโมงในครรภ์แรกและนานเกินกว่า 14 ชั่วโมงในครรภ์หลัง
ความผิดปกติของการคลอดเนื่องจากปากมดลูกเปิดขยายช้ากว่าปกติหรือส่วนนำเคลื่อนต่ำลงช้ากว่าปกติในระยะ active phase
Protracted active phase
Protracted descent
Prolong deceleration phase
Secondary arrest of dilatation
ความผิดปกติของการคลอดในระยะที่ 2 ของการคลอด
Arrest of descent
Failure of descent
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้คลอด
เสี่ยงต่อการได้รับการใช้เครื่องมือช่วยคลอด
เสี่ยงต่อการได้รับการผ่าตัดคลอด
อาจเกิดภาวะเลือดออกทั่วร่างกาย (Disseminated intravascular coagulopathy)
เพิ่มโอกาสตกเลือดหลังคลอด
เสี่ยงต่อการติดเชื้อแผลที่ช่องคลอดมาก
เสี่ยงต่อมดลูกแตก
ทำให้ช่องทางคลอดฉีกขาด ผู้คลอดเสียเลือดมาก
ทารก
การคลอดติดไหล่ (Shoulder dystocia) ทำให้มีภยันตรายต่อเส้นประสาทของแขน(Brachial plexus injury)
ร่างกายทารกชอกช้ำจากการคลอดยาก
เกิดความพิการทางสมองของทารก
ทารกมีโอกาสเสียชีวิตได้
การพยาบาล
การพยาบาลในระยะคลอด
ควรประเมินช่องทางคลอดร่วมกับการประเมินระดับส่วนนำของทารกและระดับของทารก
ถ้ามดลูกหดรัดตัวถี่และแรงเกินไปถ้าให้ Oxytocin เร่งการคลอดควรลดจำนวนหยดลงโดยดูผลของเสียงการเต้นของหัวใจทารกร่วมด้วย
ดูแลการหดรัดตัวของมดลูกให้เป็นไปตามการหดรัดตัวในภาวะปกติ
ควรกระตุ้นให้ขับถ่ายและควรสวนทิ้งถ้าปัสสาวะเองไม่ได้
ดูแลสารน้ำสารอาหารให้ผู้คลอดได้รับอย่างเพียงพอ
ให้ยาลดความเจ็บปวดตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอดทุก 4 ชั่วโมง
ประเมินสภาวะของทารกในครรภ์ทุก 30 นาที –1ชั่วโมง
ให้ผู้คลอดเบ่งเมื่อปากมดลูกเปิดหมด
การพยาบาลระยะหลังคลอด
ดูการหดรัดตัวของมดลูก
ดูแลกระเพาะปัสสาวะและบริเวณแผลฝีเย็บ
ดูแลให้ได้รับสารน้ำสารอาหารอย่างเพียงพอ
ให้ความอบอุ่นร่างกายผู้คลอด
ให้ผู้คลอดได้รับการพักผ่อน