Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มาดาที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด (ภาวะตกเลือดหลังคลอด (แนวทางการรักษา…
มาดาที่มีภาวะแทรกซ้อนหลังคลอด
ภาวะตกเลือดหลังคลอด
ชนิด
Early or Primary postpartum hemorrhage
Late or secondary postpartum hemorrhage
ปัจจัยเสี่ยง
ระยะคลอด
ได้รับการชักนำคลอด
ระยะการคลอดยาวนานหรือคลอดเร็วเกินไป
มีภาวะติดเชื้อในถุงน้ำคร่ำ
คลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
ระยะก่อนคลอด
เคยผ่าตัดคลอด
เคยตกเลือดหลังคลอดมาก่อน
มดลูกขนาดใหญ่
มีบุตรมากกว่า 3 คน
มีภาวะรกเกาะต่ำ รกฝังแน่น
ภาวะซีด
severe preeclamsia
BMI > 35 km/m2
สาเหตุ
4Ts
uterine tone
trauma of the genital tract
tissue
thrombin
อาการและอาการแสดง
minor/massive PPH
เสียเลือดร้อยละ 15-30
P 120-140 bpm
RR 30-40 bpm
BP ต่ำเล็กน้อย
เริ่มมีการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
ปัสสาวะออกน้อย (oliguria) 5-15 มล./ชม.
compensation
เสียเลือดร้อยละ 10-15
P 100-120 bpm
RR 20-30 bpm
BP ปกติ
ซีด ตัวเย็น
ตัวเย็น ใจสั่น มึนศีรษะ
ปัสสาวะออก 20-30 มล./ชม.
major PPH
เสียเลือดร้อยละ 30-40
P >140 bpm
หายใจเร็ว
systolic 70-80 mmHg
severe PPH
เสียเลือดมากกว่าร้อยละ 40
P >140 bpm
air hunger
systolic 50-70 mmHg
ผลกระทบของการตกเลือดหลังคลอด
Sheehan's syndrome
การประเมิน
คาดคะเนปริมาณเลือด
สังเกตอาการแสดงของการเสียเลือด
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูกโดยใช้มือคลำทางหน้าท้อง
แนวทางการรักษา
Bimanual compression
Uterine tamponade
Foley catheter
Sengstaken-Blakemore tube
Condom balloon
SOS bakri tamponade balloon
การบริหารยา
Second line treatment : Cytotec,Carbetacin,Nalador
การรักษาโดยการผ่าตัด
Uterine artery ligaion
B-lynch suture
Hysterectomy
Abdominal packing
การให้สารน้ำ
การให้เลือด : ให้ในมารดาที่สูญเสียเลือดมากกว่าร้อยละ 25 หรือฮีโมโกลบินน้อยกว่า 8
การติดเชื้อหลังคลอด
ชนิดของเชื้อแบคทีเรีย
Aerobic bacterial infection
Beta hemolytic streptococci group A, Staphylococcus aureus,E.coli,Proteus neisereia และ Klebsiella
Anaerobic bacterial infection
Clostridium welchii
สาเหตุส่งเสริม
ระยะเจ็บครรภ์และการคลอดยาวนาน
การทำคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ
internal fetal heart monitoring
ทำคลอดไม่ถูกต้อง
การล้วงรก
การตรวจทางช่องคลอดบ่อยๆ
เศษรกค้าง
ดูแลแผลฝีเย็บไม่ถูกต้อง
ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะโลหิตจาง การขาดน้ำหรือการตกเลือด
ชนิดของการติดเชื้อ
การติดเชื้อลุกลามออกไปนอกมดลูก
การแพร่กระจายไปหลอดเลือดดำ
การแพร่กระจายไปตามระบบน้ำเหลือง : pelvic cellulitis/parametritis, peritonitis
การติดเเชื้อเฉพาะที่
perinial infection,vulvitis,vaginitis,cervicitis
endometritis/metritis
subinvolution
สาเหตุ
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ไม่ได้ให้ทารกดูดนมมารดาหลังคลอด
กระเพาะปัสสาวะเต็ม
การหดตัวของมดลูกไม่ดี
การติดเชื้อของมดลูก
อาการและอาการแสดง
น้ำคาวปลาออกนานหรือมากกว่าปกติ น้ำคาวปลาเป็นสีแดงมีกลิ่นเหม็น อุณหภูมิร่างกายสูง อาจเกิดการตกเลือดหลังคลอด
การพยาบาล
ป้องกัน
ตรวจให้แน่ใจว่ารกครบ,early ambulation,การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
เมื่อเกิดภาวะมดลูกเข้าอู่ช้า
อธิบายให้เข้าเกี่ยวกับอาการและการรักษา,ถ้าไม่มีการกดเจ็บให้ยากระตุ้นการหดรัดตัว,ถ้ากดเจ็บ อุณหภูมิสูง น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ควรส่งเพาะเชื้อ ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
หลอดเลือดดำอักเสบ
อาการและอาการแสดง
superficial venous thrombosis : ปวดน่องเล็กน้อย บวม แดงร้อน หลอดเลือดดำแข็ง
deep venous thrombosis : ไข้ต่ำๆ ผิวหนังร้อนแต่มองไม่เห็นหรือคลำไม่ได้ Homan's sign + ve.
การรักษา
ยาปฏิชีวนะ
ผ่าตัด
anticoagulant therapy : heparin
ยาระงับปวด
การพยาบาล
ป้องกัน
รองผ้าบนขาหยั่ง ไม่ให้อยู่บนขาหยั่งนานเกิน 2 ชั่วโมง, early ambulation,สวมถุงน่อง support,หลีกเลี่ยงการนั่งนานๆ การนั่งไขว่ห้าง
เมื่อเกิดการอักเสบของหลอดเลือดดำ
ให้ยาแก้ปวด,นอนพักยกขาข้างที่เกิดการอักเสบสูงขึ้น,ประคบร้อนติดตามการแข็งตัวของเลือด,สังเตปริมาณเลือดออกในส่วนอื่น,ประเมินน้ำคาวปลา,งดให้นมมารดาแก่บุตร
mastitis
อาการและอาการแสดง
เรื่อมต้นคัดตึงเ้ตานมอย่างรุนแรงต่อมาปวดเต้านมมาก ถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะมีอาการไข้สูงหนาวสั่น ชีพจรเร็ว น้ำนมไหลออกน้อย เต้านมแดงร้อน แข็งตึง ขยายใหญ่
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ กรณีเป็นหนองต้องดูดหนองออก
Urinary tract fistula
อาการและอาการแสดง
ถ่ายปัสสาวะบ่อย กลั้นไม่อยู่ มีอุจจาระไหลออกมาทางช่องคลอดและมีกลิ่นเหม็น
การรักษา
สวนปัสสาวะแบบคาสาย 8-10 วัน,ผ่าตัดเพื่อซ่อมรูรั่ว
การพยาบาล
รักษาความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์,ดูแลให้ใส่ผ้าอนามัยตลอดเวลาและหมั่นเปลี่ยนบ่อยๆ,ให้กำลังใจ,ติดตามสัญญาณชีพ,ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
น้ำนมไม่ไหล เต้านมมีขนาดเล็กลง ไม่มีขนบริเวณอวัยวะเพศและรักแร้ อวัยวะสืบพันธุ์ฝ่อ อาจไม่มีประจำเดือนเลย
การติดเชื้อแบคทีเรียของระบบอวัยวะสืบพันธุ์สตรีภายหลังคลอดเกิดขึ้นในช่วง 28 วันหลังคลอด