Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เอสเทอร์ (Ester) (ประโยชน์ของเอสเทอร์ (ใช้เป็นหัวน้ำหอม และ สารปรุงแต่งรส…
เอสเทอร์ (Ester)
ประโยชน์ของเอสเทอร์
- ใช้เป็นหัวน้ำหอม และ สารปรุงแต่งรส
- เป็นตัวทำละลายที่ดีเช่น เอทิลแอซีเตตใช้เป็นตัวทำละลายแลกเกอร์
- พอลิเมอร์ของเอสเทอร์บางชนิดใช้ทำพลาสติกและใยสังเคราะห์เช่น เซลลูโลสแอซีเตต พอลิไวนิลแอซีเตต
- ใช้ทำเป็นยา เช่น ยาแอสไพริน
สมบัติของเอสเทอร์
- เอสเทอร์ที่มีมวลโมเลกุลน้อยๆเป็นของเหลวที่มีกลิ่นหอม ส่วนมากใช้เป็นตัวทำละลาย
- เอสเทอร์ที่มีมวลโมเลกุลมากๆเป็นของแข็งและละลายได้ดีในอีเทอร์ เนื่องจากโมเลกุลของเอสเทอร์มีแค่
แรงลอนดอนอ่อนๆเท่านั้น ทำให้เอสเทอร์เป็นสารที่มีขั้วน้อยและจุดเดือดจุดหลอมเหลวต่ำ ซึ่งจุดเดือดจุดหลอมเหลวจะมากกว่าไฮโดรคาร์บอนและอีเทอร์แต่น้อยกว่าเอมีน
- แอลกอฮอล์และเอสเทอร์ละลายน้ำ ได้น้อยมากยกเว้นโมเลกุลเล็กๆ เช่น เอทิลแอซีเตต ที่ละลายไดบ้างเล็กน้อย
สมบัติทางเคมี
- เอสเทอร์กับกรดคาร์บอกซิลิกเป็นไอโซเมอร์โครงสร้างกัน โดยเอสเทอร์จะมีจุดเดือดต่ำกว่ากรดคาร์บอกซิลิก เนื่องจากเอสเทอร์ไม่มีพันธะไฮโดรเจนยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลจึงน้อยกว่ากรดคาร์บอกซิลิก
- เมื่อมีจำนวนอะตอมคาร์บอนเพิ่มขึ้น เอสเทอร์จะมีจุดเดือดสูงขึ้น
- เอสเทอร์ที่มีโมเลกุลขนาดเล็กจะละลายน้ำได้ แต่สภาพละลายได้จะลดลงเมื่อจำนวนอะตอมเพิ่มขึ้น
สูตรทั่วไป
- มีสูตรทั่วไปเป็น R - CO - OR หรือ R’COORหรือ R’CO2R
- มีสูตรโมเลกุลทั่วไปเป็น CnH2nO2 (เหมือนกรดอินทรีย์) และมีหมู่แอลคอกซีคาร์บอนิล (-COOR )เป็นหมู่ฟังก์ชัน
เอสเทอร์
เอสเทอร์ประกอบด้วยกรดอนินทรีย์หรือกรดอินทรีย์โดยที่หมู่ -OH (ไฮดรอกซิล) อย่างน้อยหนึ่งหมู่ถูกแทนที่ด้วยหมู่ -O-แอลคิล (แอลคอกซี) คล้ายกับเกลือที่ใช้แอลกอฮอล์อินทรีย์แทนที่ไฮดรอกไซด์ของโลหะ
-
ปฏิกิริยาเคมีของเอสเทอร์
- ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน(Saponification)
ปฏิกิริยาของสารใดๆ ที่ทำปฏิกิริยาแล้วได้ผลิตภัณฑ์เป็นน้ำกับสารใดๆ
- ปฏิกิริยาสะปอนนิฟิเคชัน (Sponification)
เป็นปฏิกิริยาไฮโดรลิซิสไขมันและน้ำมันด้วยเบส เป็นปฏิกิริยาที่เกิดจากไขมันและน้ำมันกับด่าง เกิดเกลือของกรดไขมัน (RCOO– Na+)
การเรียกชื่อเอสเทอร์
การเรียกชื่อเอสเทอร์ต้องเรียกชื่อหมู่แอลคิลหรือหมู่แอริลจากแอลกอฮอล์ แล้วตามด้วยชื่อของกรดคาร์บอกซิลิก เปลี่ยนคำลงท้ายจาก –อิก (– ic) เป็น เ–ต (–ate)