Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรับรู้ (จากอวัยวะสัมผัส (การรับรส (ประสาทรับรสเรียกว่า chemoreceptor,…
การรับรู้
จากอวัยวะสัมผัส
การได้ยิน
แยกว่าเสียงอะไร ความดัง ตำแหน่ง
การมองเห็น
มีอิทธิพลเหนืออวัยวะรับความรู้สึกอันอื่น
การได้กลิ่น
เป็นระบบที่รู้จักน้อยที่สุด
เล็กมากยากที่จะศึกษา
การรับรส
ประสาทรับรสเรียกว่า chemoreceptor
มีความสัมพันธ์กันการได้กลิ่น ถ้าอย่างใดอย่างหนึ่งลดลง อีกอย่างจะลดตามด้วย
ตอนแรก รสเค็ม >> เปรี้ยว >> หวาน >> ขม
การรับรู้สึกใต้ผิวหนัง
แบ่งออกเป็น 2 ชนิด
การรับรู้ที่เป็นแบบปฐมภูมิ
ต่างกัน 4 อย่าง ความรู้สึกสัมผัส ความรู้สึกร้อน ความรู้สึกเย็น ความรู้สึกเจ็บปวด
การรับรู้ความรู้สึกใต้ผิวหนังชนิดที่สอง
การเกิดการเร้าประสาทตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป หรือ เกิดจากการเร้าประสาทเป็นระยะ
การชินความรู้สึก
การชินแรงกด อุณหภูมิ ความเจ็บปวด
การชินความเจ็บปวดไม่ได้ให้คุณค่าในแง่ของการอยู่รอด ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับสิ่งเร้าด้วย
การเปลี่ยนระดับของความเจ็บปวด
การใช้ยา การสะกดจิต การเบี่ยงเบนความสนใจ การเรียนรู้ การกระจายสิ่งเร้า
ความคงที่ในการรับรู้
การรับรู้ความสว่างหรือความขาว
ขึ้นอย่กับปริมาณแสง และความสามารถในการสะท้อนแสง
ความคงที่ในการรับรู็ขนาด
เหมือนเห็นเพื่อนแล้วนึกออกว่าคนไหน
ความงคงที่ในการรับรู้รูปร่าง
เมื่อสิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงไปเรายังมองวัตถุหนึ่งเป็นวัตถุแบบเดิม
ปัจจัยที่่ส่งผลต่อการรับรู้สิ่งเร้า
ตัวบุคคล
ความสมบูรณ์อวัยวะ ประสบการ์ณ การใส่ใจ อารมณ์ ความคาดหวัง การถูกชักจูง
คุณลักษณะของสิ่งเร้า
ความเข้ม ขนาด รูปแบบ สี
การรับรู้ความรู้สึกของร่างกายแบ่งเป็น 2 ชนิด
kinetssis
ระบบประสาทชนิดนี้มีอยู่ทั่วไปตามร่างกาย เพื่อรายงานสภาวะของร่างกาย ด้วยเหตุนี้เราจึงรู้ว่าร่างกายเราอยู่ในลักษณะใด เคลื่อนที่ไปที่ใด
equilibrium
เกี่ยวกับการทรงตัว เราสามารถทราบได้ว่าเราเคบื่อนที่ไปในทิศทางใดได้โดยไม่ต้องดู เกิดจาก น้ำในหูนี้เอง ใช้ caliciulm carbonate ในการถ่วงที่แฮร์เซล
การรับรู้สี
ความสามารถในการแยกสีตามความยวคลื่น
สีถูกเชื่อมโยงกับอุณหภูมิ อารมณ์
การรับรู้รูปร่าง
ภาพและพื้น เมื่ออยู่ด้วยกันภาพจะเด่น
การจัดระเบียบ
law of proximity
วัตถุที่มีลักษณะคล้ายคลึงกันย่อมถูกมองเห็นเป็น unit เดียวกัน
law of similarity
วัตถุที่อยู่ใกล้กัน ย่อมมีความรู้สึกว่าอยู่กลุ่มเดียวกัน
law of good continuation
การรับรู้ตามความต่อเนื่อง
law of closure
การรับรู้ถึงสิ่งที่ขาดหายไปของภาพ
การรับรู้การเคบื่อนที่
การเคลื่อนที่เชิงกายภาพ
สิ่งเร้ากำลังเคลื่อยที่
การเคลื่อนที่ปรากฏ
การเคลื่อที่ของสิ่งเร้าที่ไม่มีอยู่จริง เป็นภาพลวงตาของเรา
การลวงตา
ความผิดพลาดในการกำหนดทิศทางของเส้น การกำหนดความยาว โครงร่างที่ไม่มีอยู่จริง
การรับรู้พิเศษ
ไม่ได้เป็นที่บอมรับในทางจิตวิทยา หรือ ความรู้สึกที่6
โทรจิต ตาทิพย์ ลาสังหร
การรับรู้ระยะทางและความลึก
กล้ามเนื้อตา การเห็นโดยใช้ตาสองข้าง การซ้อนกัน ความลึกซึ้งที่ปรากฏ การแสดงลายละเอียด
การแปรความหมายของแต่ละคนจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์