Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ (ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information…
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS)
ความหมาย
เครื่องภูมิศาสตร์ที่ใช้ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยในการนำข้อมูล จัดเก็บ วิเคราะห์ และแสดงผลการวิเคราะห์ เพื่อดัดแปลงแก้ไขและการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้เห็นมิติและความสัมพันธ์เชิงพื้นที่ และนำไปประยุกต์ใช้ในด้านการบริหารจัดการและด้านการวางแผนกำหนดนโยบาย
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ซอฟต์แวร์ทำงาน
กระบวนการวิเคราะห์/ขั้นตอนการทำงาน
ระบบฮาร์ดแวร์
บุคลากร
ข้อมูล/สารสนเทศ
ข้อมูลเชิงพื้นที่
ข้อมูลเชิงอรรถาธิบาย
ข้อดีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
การปรับปรุงและการแก้ไขข้อมูลสามารถทำได้ง่ายและทันที
การเรียกใช้ข้อมูล
สามารถผลิตฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ที่แสดงขั้นตอนของการเปลี่ยนแปลงได้อย่างต่อเนื่อง
การวิเคราะห์และตรวจสอบข้อมูลมีความรวดเร็วขึ้น
ระบบเก็บข้อมูลมีความสามารถเก็บข้อมูลได้ตั้งแต่ข้อมูล
ประโยชน์ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ด้านการบริหารจัดการ
ประสิทธิ์ที่ภาพในการบริหารจัดการพื้นที่ ทำการวิเคราะห์หาพื้นที่เหมาะสมการทำกิจกรรมหรือไม่กิจกรรมตางๆได้
ด้านการวางแผนกำหนดนโยบาย
สำคัญต่อการพัฒนาพื้นที่เนื่องจากการใช้ข้อมูลจากระบบสารสนเทศ นำเสนอได้ในรูปของบูรณาการร่วมกันระหว่างข้อมูลทางด้านลักษณะสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
รีโมตเซนซิง
(Remote Sensing : RS)
ความหมาย
การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับวัตถุหรือปรากฎการณ์ต่างๆโดยไม่มีการสัมผัสวัตถุนั้น เป็นการบันทึกข้อมูลจากการสะท้อนแสงหรือการแผ่รังสีพลังงานแม่เหล็กโดยเครื่องวัดหรืออุปกรณ์บันทึกข้อมูลจากการสะท้อนแสงหรือแผ่รังสีพลังงานแม่เหล็กโดยเครื่องวัดอุปกรณ์ที่ติดอยู่ยานสำรวจ
หลักการการทำงาน
การได้รับข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ด้วยสายตา
วิเคราะห์เชิงคุณภาพ
การวิเคราะห์ด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์
วิเคราะห์เชิงปริมาณ
ระบบการทำงาน
ระบบการทำงานแบบพาสซีฟ
ระบบอาศัยแหล่งพลังงานจากธรรมชาติ คือดวงอาทิตย์ ะบบนี้จะรับและบันทึกข้อมูลได้ ส่วนใหญ่ในเวลากลางวัน และมีข้อจำกัดด้านภาวะอากาศ ไม่สามารถรับข้อมูลได้ในฤดูฝน หรือเมื่อมีเมฆ หมอก ฝน
ระบบการทำงานแบบแอกทีฟ
ระบบที่แหล่งพลังงานเกิดจากการสร้างขึ้นในตัวของเครื่องมือสำรวจ เช่น ช่วงคลื่นไมโครเวฟ แล้วส่งพลังงานนั้นไปยังพื้นที่เป้าหมาย ระบบนี้ สามารถทำการรับและบันทึกข้อมูล ได้โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา หรือ ด้านสภาวะภูมิอากาศ คือสามารถรับส่งสัญญาณได้ทั้งกลางวันและกลางคืน อีกทั้งยังสามารถทะลุผ่านกลุ่มเมฆ หมอก ฝนได้ในทุกฤดูกาล
ประโยชน์
การใช้ประโยชน์ที่ดิน
:ติดตามภัยพิบัติทางธรรมชาติ
การสำรวจทรัพยากรทางน้ำ
การวางผังเมือง
ระบบกำหนดตำแหน่งบนพื้นโลกหรือจีพีเอส (Global Positioning System : GPS)
ประเภทของจีพีเอส
ระบบนำทาง
หน่วยประมาวลผล โปรปกรมแผนที่ ข้อมูลแผนที่ที่เหมาะสมกับการใช้งานในรูปแบบต่างๆ
ระบบติดตาม
ระบบนิยมใช้ติดตามยานพาหนะหรือทรัพย์สิน ระบุตำแหน่ง
ประโยชน์
ด้านระบบติดตาม
ด้านการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ด้านการขนส่งสินค้า หรือโลจิสติกส์
ด้านการกีฬา
ความหมาย
เทคโนโลยีกำหนดตำแหน่งพื้นโลกโดยอาศัยดาวเทียม