Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนทัศน์ความพิการเชิงการแพทย์ (แนวคิดที่เกี่ยวข้อง (EUGENICS…
กระบวนทัศน์ความพิการเชิงการแพทย์
พัฒนาควบคู่ไปกับการเฟื่องฟูของการแพทย์แผนปัจจุบัน
พัฒนาไปสู่การวัด
ความผิดปกติ
ในเชิงประจักษ์ และแบ่งประเภทและลำดับขั้นของสภาวะความเจ็บป่วย
รัฐและสังคมสมัยใหม่มุ่งเน้นควบคุมร้างกายและจิตใจของพลเมืองเพื่อผลประโยชน์ในทาง
เศรษฐกิจ
และ
การเมืองการปกครอง
การสร้างบรรทัดฐานของร่างกายและจิตใจมนุษย์ และการสร้างคู่ตรงข้าม
พิการ(ป่วย) -ปกติ
เพื่อประเมินร่างกายและจิตใจของบุคคลในสังคม
สภาพร่างกาย/จิตใจที่ต่างจากบรรทัดฐานจะถูกมองว่าเป็น
ความขาด ความบกพร่อง ความป่วย
ต้องได้รับการรักษาให้หาย
ถ้าไม่หาย ก็ต้องฟื้นฟให้มีสภาพใกล้เคียงกับลักษณะ
ปกติ
โดยแพทย์/ผู้เชี่ยวชาญทางการแพทย์
สถาบันทางการแพทย์
มีอำนาจในการประเมินและให้ความหมาย และจัดการกับความพิการในรูปแบบต่างๆ เช่น รักษา เยียวยา ฟื้นฟู หรือกำจัดออกไป
ร่างกายที่แตกต่างจากบรรทัดฐานจะถูกให้ค่าว่าเป็น
สิ่งที่ด้อย บกพร่อง
ต้องได้รับการเยียวยารักษา
แต่นักวิชาการความพิการศึกษามองว่า
ร่างกายมนุษย์อาจมีความยืดหยุ่น หลากหลาย และเปลี่ยนแปลงไปเสมอ
ทฤษฎีที่จะนำมาชี้วัดไม่น่าจะประเมินได้ทุกกรณี
แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
EUGENICS
มาจากแนวคิดพัฒนาชาติและสังคมให้เป็นสังคมที่ยิ่งใหญ่
มองว่าประชากรรุ่นใหม่ของชาติจะสามารถพัฒนาให้ดีกว่าสังคมรุ่นก่อนๆได้ ก็ต้อมีการสืบทอดเผ่าพันธุ์จากประชากรรุ่นปัจจุบันที่มีลักษณธทางพันธุกรรม/ยีนที่ดีและสมบูรณ์
ผู้ที่มีคุณลักษณะทางร่างกายและจิตใจที่พึงประสงค์ก็จะได้รับการสืบทอดเผ่าพันธุ์ต่อไป
ส่วนผู้ที่มีลักษณะไม่พึงประสงค์/ไม่ตรงตามบรรทัดฐานก็จะถูกป้องกัน/ขัดขวางไม่ให้สืบทอดเผ่าพันธุ์ต่อไป
การกีดกันไม่ให้สมรส
การทำหมัน
การกำจัดตัวอ่อน
การทำแท้ง
การกำจัดคนพิการทิ้งเสีย
ตัวอย่าง โครงการการุณฆาต
ภายใต้แนวคิด
สุขอนามัยทางเชื้อชาติ
ในสมัย WW II ของรัฐบาลนาซี
เพื่อคงความบริสุทธิ์ของเชื้อชาติเอาไว้ + ลักษณะที่พึงประสงค์
ตัวอย่าง การตรวจเด็กในครรภ์แม่
เป็นความคาดหวังของพ่อแม่ว่าอยากให้ลูกในครรภ์มีลักษณะที่พึงปรารถนา ไม่มีความพิการ ตรงตามบรรทัดฐาน
ตัวอย่าง Eugenic Certificate
ตัวอย่าง โฆษณาชวนเชื่อในรัฐบาลนาซี
ใช้สัญญะ/ลักษณะทางภาพถ่ายที่รณรงค์ให้คนเชื่อในวิธีคิดแบบ Eugenics
เป็นแนวคิดที่มีความอคติกับความพิการ
เป็นการกระทำที่สุดโต่ง ไม่ยอมรับความหลากหลายในสังคม
การฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
อิทธิพลของแนวทางเศรษฐกิจแบบทุนนิยม
มองว่าความพิการเป็นอุปสรรคของการเป็นทรัพยากรแรงงานที่สมบูรณ์ของมนุษย์
การเป็นคนพิการถูกมองว่าเป็นภาระของสังคม ไม่สามารถสร้างผลผลิตทางเศรษฐกิจออกมาได้ ต้องรอให้รัฐโอบอุ้ม
ต้องฟื้นฟูคนพิการให้มีสภาพปกติ/ใกล้เคียงปกติ
การจัดการของรัฐ
นโยบายเน้นการชดเชยความขาด/บกพร่อง (Compensation)
นโยบายการปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมให้รองรับสภาพร่างกายที่ความแตกต่าง (Accommodation)
มองว่าทุกคนเป็นส่วนหนึ่งของสังคม ควรได้รับการปฏิบัติที่เท่าเทียมกัน
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง คนสมัครในรายการ Let me in
คนที่มีหน้าตาไม่ได้ตรงกับบรรทัดฐานแต่ต้องการทำให้ตนเองเหมือนกับคนปกติเพื่อที่จะได้รับยอมรับจากกลุ่มคนในสังคมกระเเสหลักโดยวิธีการผ่าตัด ปรับเปลี่ยนใบหน้า เพื่อให้มีรูปลักษณ์ที่คนกระแสหลักพึงพอใจ และไม่มองว่าผิดปกติ
กระบวนทัศน์ความพิการเชิงการแพทย์เปลี่ยนจากสัญญะที่สื่อถึง
ความชั่วร้าย/หายนะของสังคม
กลายเป็น
ความเป็นอื่นในทางชีวภาพ/วิทยาศาสตร์/การแพทย์