Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการสร้าง หรือพัฒนาหลักสูตร (กระบวนการจัดทำหลักสูตร…
กระบวนการสร้าง หรือพัฒนาหลักสูตร
ความหมายของการสร้างหรือพัฒนาหลักสูตร
การสร้างหลักสูตร หมายถึง การจัดทำหลักสูตรขึ้นมาใหม่โดยไม่มีหลักสูตรเดิมเป็นพื้นฐานอยู่เลย เพื่อให้เหมาะสมกับโรงเรียนหรือระบบโรงเรียน โดยมีองค์ประกอบของหลักสูตร คือ จุดมุ่งหมาย เนื้อหาสาระ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และการประเมินผล
การพัฒนาหลักสูตร หมายถึง ปรับปรุงหลักสูตรที่มีเดิมให้ได้ผลดียิ่งขึ้น เพื่อให้บรรลุถึงจุดมุ่งหมายอันใหม่ที่วางไว้
กระบวนการจัดทำหลักสูตร
กระบวนการจัดทำหลักสูตรของไทเลอร์
1.3 กลั่นกรองโดยทฤษฎี
1.2 กําหนดจุดมุ่งหมายชั่วคราว
1.4 กําหนดจุดมุ่งหมายที่แท้จริง
1.5 จัดประสบการณ์การเรียนรู้
1.1 ศึกษาแหล่งข้อมูล
1.6 ประเมินผล
กระบวนการจัดทำหลักสูตรของทาบา
2.1 กําหนดจุดประสงค์
2.2 เลือกประสบการณ์
2.3 จัดหลักสูตร
2.4 เรียงลําดับเนื้อหาแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์
กระบวนการจัดทำหลักสูตรของเซเลอร์ อเล็กซานเดอร์และเลวิส
3.2 จัดทําหลักสูตร
3.3 ใช้หลักสูตร
3.1 ตั้งเป้าหมายและจุดประสงค์
3.4 ประเมินผลหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร สงัด อุทรานันท์
4.1 จัดวิเคราะห์ ข้อมูลพื้นฐานเพื่อการพัฒนาหลักสูตร
4.2 การกําหนดจุดมุ่งหมาย
4.4 การกําหนดมาตรการวัดและประเมินผล
4.3 การคัดเลือกและจัดเนื้อหาสาระและประสบการณ์
4.5 การนําหลักสูตรไปใช้
4.6 การประเมินผลการใช้
4.7การปรับปรุงแก้ไขหลักสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของวิชัย วงษ์ใหญ่
5.2ระบบการใช้หลักสูตร
5.3ระบบการประเมินผล
5.1 ระบบการร่างหลังสูตร
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของ ธํารง บัวศรี
ขั้นที่ 5 การเลือกเนื้อหา
ขั้นที่ 6 การกําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้
ขั้นที่ 4 การกําหนดจุดประสงค์ของวิชา
ขั้นที่ 7 การกําหนดประสบการณ์การเรียนรู้
ขั้นที่ 3 การกําหนดรูปแบบและโครงสร้างของหลักสูตร
ขั้นที่ 8 การกําหนดยุทธศาสตร์การเรียนการสอน
ขั้นที่ 2 การกําหนดจุดหมายของหลักสูตร
ขั้นที่ 9 การประเมินผลการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน
ขั้นที่ 10 การจัดทําวัสดุหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน
กระบวนการพัฒนาหลักสูตรของวิชัย ประสิทธิ์วุฒิเวชช
การนําหลักสูตรไปใช้
การประเมินหลักสูตร
การกําหนดเนื้อหาสาระ
การปรับปรุง แก้ไข
การกําหนดจุดมุ่งหมาย
กระบวนการพัฒนาหลักสูตร
การวิเคราะห์ข้อมูล
วงจรของการพัฒนาหลักสูตรของศิริชัย กาญจนวาส
วงจรของการพัฒนาหลักสูตรเริ่มต้นจากความต้องการหลักสูตรที่สามารถตอบสนองต่อบริบท (context) หรือสภาวะแวดล้อม สภาพแวดล้อมที่สําคัญของหลักสูตรประกอบด้วยความต้องการทางวิชาการ/วิชาชีพ เช่น ความต้องการสืบทอดองค์ความรู้สร้างองค์ความรู้ทางวิชาการ เพื่อพัฒนาศาสตร์สาขานั้น เป็นต้น และความต้องการทางสังคม