Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Basic pharmacology, นางสาวจุฬารัตน์ ภูขันเขียว, รหัสนักศึกษา 634991085 -…
Basic pharmacology
Drugs
สารเคมีที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางด้านชีววิทยาของสิ่งมีชีวิต ในทางการแพทย์นำมาใช้เพื่อการป้องกัน บำบัดรักษา บรรเทาอาการและการวินิจฉัยโรคได้
กระบวนการ Pharmacokietices
:<3: Drug Absorption การดูดซึมยา
:<3: Drug Distribution การกระจายยา
:<3: Drug Metabolism การเปลี่ยนเเปลง
:<3: Drug Excretion การขับยาออกจากร่างกาย
" ร่างกายจัดการกับยา โดยมีเวลาเข้ามาเกี่ยวข้อง "
" ระดับความเข้มข้นของยาเปลี่ยนแปลง ในช่งเวลาต่างกัน "
1. Drug Absorption
กระบวนการดูดซึมยาจากตำเเหน่งที่ได้รับยาเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือด
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึม
- รูปแบบยา วิถีทางให้ย รูปร่าง - ขนาด
- ความสามารถในการละลาย
- ความเข้มข้นของยา
- ความสามารถในการแตกตัว
- การแตกตัว / มีขั้ว
- Biological barbier
- พื้นที่ในการดูดซึม
Biological barrier เยื่อกั้น
หน้าที่หลัก
- เเบ่งองค์ประกอบภายในเซลล์ / กั้นระหว่างส่วนต่าง
- ควบคุมการผ่านเข้าออกของสาร
เยื่อเซลล์
- Lipid (ตัวทำละลายระหว่าง โปรตีนเเละไขมัน )
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการดูดซึมยาผ่านระบบทางเดินอาหาร
- การส่งผ่านยาจากกระเพาะอาหารลำไส้เล็ก
- การรับประทานอาหารร่วมกับยา
- ค่าความเป็นกรดในกระเพาะอาหาร
- ค่าการแตกตัวคงที่ของยาแต่ละตัว บ่งชี้ว่ายาน้ำแตกตัวได้มากหรือน้อย
- ปริมาณเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะ
- การเคลื่อนไหวของลำไส้
- ระยะเวลาที่ยาอยู่ในอวัยวะนั้น ๆ
- พื้นผิวของอวัยวะที่ดูดซึม
- ภาวะโรคที่เกี่ยวข้องเช่นโรคระบบทางเดินอาหาร
ลักษณะของยาที่ถูกดูดซึมผ่านเยื่อกั้นผ่านได้ดีและเร็ว
- ละลายในไขมันได้ดี
- ไม่มีประจุ / ไม่มีขั้ว
- โมเลกุลยามีขนาดเล็ก
- ความเข้มข้น สูงจะถูกดูดซึมได้เร็วกว่า
- รูปแบบยา
รูปแบบยา
ของเหลวดูดซึมผ่านได้เร็ว
ของแข็ง ดูดซึมได้ช้า
ยาดูดซึมผ่านการฉีดยา
:star: IV
ออกฤทธิ์เร็ว ฉีดเข้าหลอดเลือดโดยตรง
:star: IM
ปลอดภัยกว่า IV ออกฤทธิ์เร็ว แต่ไม่เร็วเท่า IV รอยาดูดซึมเข้ากระแสเลือด
:star: SC
ปลอดภัยกว่า IV ออกฤทธิ์เร็ว แต่ไม่เท่า IV ดูดซึมช้ากว่า IM
-
วิธีการบริหารยา
ผ่านระบบทางเดินอาหาร ยารับประทาน / ยาอมใต้ลิ้น / ยาเหน็บทวารหนัก
ฉีดยา หลอดเลือดดำ / หลอดเลือดเเดง / กล้ามเนื้อ / ใต้ผิวหนัง
ทางอื่น การสูดดมเข้าทางเดินหายใจ / การฉีดเข้าไขสันหลัง / การทาหรือเเปะผิวหนังหยอดตา
ยารับประทาน / ยาอมใต้ลิ้น / ยาเหน็บทวารหนัก
ยารับประทาน
- สะดวก
- อาจระคายเคืองทางเดินอาหาร / ถูกทำลายก่อนไปออกฤทธิ์
ยาอมใต้ลิ้น
- สะดวก
- ดูดซึมเร็วเข้า
- เส้นเลือดดำที่ ใต้ดินโดยตรง (ไม่เกิด First pass effect)
- ไม่ระคายเคืองทางเดินอาหาร / ถูกทำลายก่อนไปออกฤทธิ์
ยาเหน็บทวารหนัก
- ไม่อาจระคายเคืองทางเดินอาหาร / ถูกทำลายก่อนไปออกฤทธิ์
- การดูดซึมไม่สม่ำเสมอ
ออกฤทธิ์เฉพาะที่ทวารหนัก
4. Drug Excretion
Renal excretion
- Glomerular filtration อัตราการกรองยาในกระเเสเลือดกรองผ่านไต
- Tubular Reabsorption การดูดกลับยา เข้าสู่กระเเสเลือด
- Tubular Secretion การขับ ยา/สาร เข้าสู่ท่อไต เข้าสู่กระเพาะปัสสาวะ ขับออกทางปัสสาวะ
ปัจจัยมีผลต่อการขับยาออกทางไต
- Renal blood flow
- GFR 100 my / min
- PH of Urine
- คุณสมบัติของยา
- ปริมาณยาที่ไปไต
- ภาวะเจ็บป่วย : โรคไต
- Drugs interaction
- ปัจจัยทางกาย : อายุ เพศ
2. Drug Distribution
เนื้อเยื่อที่มีอัตราการไหลเวียนเลือดสูงจะเข้าสู่ภาวะสมดุลเร็วกว่าเนื้อเยื่อที่มีอัตราการไหลเวียนเลือดต่ำ
Volume of distribution (Vd)
- เป็นคุณสมบัติเฉพาะของยาแต่ละชนิด
- ยามีค่า Vd สูง
- ยามีค่า Vd ต่ำ
Plasma Protein binding
- จำกัดการกระจายยาไปเนื้อเยื่อ
- ยารวมตัว Plasma Protein binding สูง
- ผลการออกฤทธิ์ลดลง
-
3. Drug metabolism
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงยา
- Liver Enzyme System
- Hepatic blood flow
- ภาวะเจ็บป่วย : โรคตับ
- Drugs interaction
- พันธุกรรม
- ปัจจัยทางกายภาพ : อายุ เพศ
-
-