Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง (Connective theory), ทฤษฎีกิจกรรม (Activity theory),…
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง (Connective theory)
ตอนแรกเส้นใย collagenเกาะกันหลวมๆทำให้เนื้อเยื่อมีความยืดหยุ่น เมื่อเวลาผ่านไป เกาะใกล้ชิดกันมากขึ้น ทำให้เนื้อเยื่อมีความยืดหยุ่นลดลง
Elastin เชื่อมกันมากขึ้นส่งผลให้เกิดการสูญเสียความยืดหยุ่นของcall
การเปลี่ยนแปลงที่พบ ผิวแห้ง หย่อนยาน
เหตุผลที่เลือกทฤษฎีนี้เพราะว่ามีการกระตุ้นให้ผู้สูงอายุได้ออกกกำลังกายเพื่อป้องกันการยึดติดของระบบกล้ามเนื้อ
ทฤษฎีกิจกรรม
(Activity theory)
ผู้สูงอายุชอบทํากิจกรรมสามารถปรับตัวได้ดีกว่าผู้สูงอายุที่ทํากิจกรรมน้อย พยายามรักษากิจกรรมให้ คงอยู่และพยายามหากิจกรรมใหม่มาทดแทนกิจกรรมที่เสียไป
ส่งเสริมให้เกิดอัตโนทัศน์ในผู้สูงอายุ
เหตุผลที่เลือกทฤษฎีนี้เพราะว่า ทฤษฎีนี้ส่งเสริมการทำกิจกรรมทางสังคม จะทำให้ผู้สูงรู้สึกมีความสุขในการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายด้วยการทำกิจกรรม
การประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้สูงอายุ
ทฤษฎีเชื่อมตามขวาง (Connective theory)
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุออกกำลังกายแบบยืดเหยียด
ท่าเอียงศีรษะ
ท่าหมุนศีรษะ
ท่ายืดลำตัวด้านข้าง
ท่ายืดต้นแขนด้านหลัง
ท่ายืดเหยียดหน้าอก
ท่ายืดเหยียดไหล่
ท่ายืดปลายแขนด้านหน้า
ท่ายืดปลายแขนด้านหลัง
ท่ายืดกล้ามเนื้อหลังส่วนบน
ท่ายืดต้นขาด้านหลังและน่อง
ทฤษฎีกิจกรรม
(Activity theory)
ส่งเสริมให้เกิดอัตโนทัศน์ในผู้สูงอายุ
การพบปะสังคม
ส่งเสริมสิ่งที่ผู้สูงอายุชอบ
การทำประโยชน์ต่อส่วนรวม
พาผู้สูงอายุออกจากบ้านเพื่อเปิดหูเปิดตา
ทฤษฎีการสูงอายุทางชีวภาพ(Biologic theory of aging)
นางสาวสิริยากร ทะการุณ รหัส62113301081
1.นักศึกษามีความสนใจทฤษฎีการสูงอายุทางชีวภาพใด เพราะเหตุใด (เลือก1ทฤษฎีเป็นmind map)
2.นักศึกษามีความสนใจทฤษฎีการสูงอายุทางจิตสังคมใด เพราะเหตุใด (เลือก1ทฤษฎีเป็นmind map)
ทฤษฎีความสูงอายุทางสังคม(Psychosocial Theories)
3.นักศึกษาจะนำทฤษฎีดังกล่าวในข้อ1และ2มาประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้สูงอายุอย่างไร (เขียนเป็น mind map)