Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพที่เป็นสาเหตุของปัญหาสาธารณสุขโดยใช้ PRECEDE…
วิเคราะห์พฤติกรรมสุขภาพที่เป็นสาเหตุของปัญหาสาธารณสุขโดยใช้ PRECEDE Framework
เรื่อง โรคพิษสุราเรื้อรัง
ขั้นตอนที่ 2 การวินิจฉัยทางวิทยาการระบาด (Epidemiology Diagnosis)
อายุระหว่าง 41-50 ปี
อาชีพรับจ้างใช้แรงงาน
ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นเพศชาย
การศึกษามัธยมตอนปลาย
ขั้นตอนที่ 4 การวินิจฉัยทางการศึกษา (Educational Diagnosis)
ปัจจัยเอื้อ (Enabling factors)
การเข้าถึงร้านค้าที่ขายเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สถานบันเทิงใกล้ที่พัก/บ้าน
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ตามคำเชิญชวนของเพื่อนร่วมงาน เพื่อนร่วมห้อง
การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ของบุคคลใกล้ชิดในครอบครัว
ปัจจัยเสริม (Reinforcing factors)
การโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ทางสื่อต่าง ๆ
สิ่งแวดล้อมทางสังคม เช่น คำยุยง คำท้าทายของเพื่อน
การมีกิจกรรมทางสังคม เช่น งานเลี้ยง งานฉลอง ไปเที่ยว
สภาพครอบครัว เช่น ครอบครัวขาดความรัก ความอบอุ่น ครอบครัวแตกแยก
ปัจจัยนำ (Predisposing factors)
การผิดหวังในเป้าหมายชีวิต ผิดหวังในการงาน การเรียน ความรัก ทำให้รู้สึกว่าตนเองมีคุณค่าลดลง
ขาดทักษะในการปฏิเสธการดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ปัจจัยภายในบุคคล ทัศนคติ ครอบครัว อารมณ์ ความเชื่อ การตัดสินใจเมื่อมีสิ่งมากระทบจิตใจ
การมีค่านิยมเลียนแบบพฤติกรรมในทางที่ผิด
ขั้นตอนที่ 3 การวินิจฉัยพฤติกรรม (Behavioral Diagnosis)
เมื่อหยุดดื่มสุราจะมีอาการลงแดง เช่น คลื่นไส้ เหงื่อออก สั่น
ต้องเพิ่มปริมาณดื่มสุรา เพื่อให้มีความสุข
ไม่สามารถควบคุมหรือหยุดหลังจากดื่มสุรา
อาการคลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก มือสั่น กระวนกระวายและอาการดังกล่าวจะหายไป เมื่อดื่มสุราหรือกินยานอนหลับ
มีความต้องดื่มสุราตลอดเวลา
ขั้นตอนที่ 1 การวินิจฉัยทางสังคม (Social Diagnosis)
มีอาการเมาค้างทำให้ไปทำงานสาย , ไม่ไปทำงาน
ไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติ เช่น การเรียนหนังสือ การทำงาน การขับรถ
มักใช้ความรุนแรงกับครอบครัว
ยังคงดื่มสุรา แม้จะมีปัญหาเรื่องความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง
ดื่มสุราขณะทำงานที่มีความเสี่ยง เช่น การขับรถ การควบคุมเครื่องจักร