Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติ เกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ,…
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติ เกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ(Noninfectious)
กระดูกหัก(fracture)
การรัษาและภาวะแทรกซ้อน
การตรวจวัดสัญญาณชีพ(vitalsigns)
2.การดามกระดูกชั่วคราว (temporarysplint)
ชนิด
2.แบ่งตามลักษณะหรือแนวการหักของกระดูก
2.1 Greenstick fracture คือ กระดูกเดาะ หรือกระดูกมีการแตกและหัก โดยชิ้นของกระดูกที่หัก นั้นยังติดกันอยู่ พบเฉพาะในผู้ป่วยเด็ก
2.2 Transverse fracture คือ กระดูกหักกตามแนวขวางของกระดูกเกิดจาก direct violence
2.3 Oblique fracture คือ กระดูกหักตามแนวเฉียงของกระดูกเกิดจาก indirect violence
3.แบ่งตามชนิดต่างๆ
3.1Complete fracture คือกระดูกหักออกจากกันโดยสิ้นเชิง หากหักเป็นชิ้นเล็กๆ เรียกว่า comminuted fracture
3.2 Incomplete fracture คือกระดูกหักแต่ไม่ขาดออกจากกัน
3.3 Complicated fracture คือกระดูกหักแล้วมีภาวะอื่นแทรก เช่นทิ่มอวัยวะใกล้เคียง
3.4 Segmental fracture คือกระดูกที่หักมีส่วนที่หักมากกว่า2แห่งในชิ้นเดียวกัน
3.5Avulsionfracture คือกระดูกที่หักถูกดึงให้หลุดออกจากตำแหน่งเดิม โดยเอ็นและกล้ามเนื้อยึดกระดูก
1.แบ่งตามลักษณะของบาดแผล
1.2 กระดูกหักแบบเปิด (open fracture หรือ compound fracture)
มีแผลแต่ไม่มีกระดูกโผล่ (without bone perforate)
มีแผล และมีชิ้นส่วนกระดูกออกมาข้างนอกแผล (with bone perforate)
1.1 กระดูกหักแบบปิด (closed fracture หรือ simple fracture) กระดูกส่วนที่หักอยู่ภายในร่างกาย ไม่มีแผล
สาเหตุ
2.การกระตุกหรือการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างแรง (sudden muscular force)
กระโดดแล้วหกล้ม กล้ามเนื้อกระตุกรุนแรง ทำให้กระดูกสะบ้าแตก
3.การหักหรือหลุดของกระดูกและข้อที่มีพยาธิอยู่ก่อนแล้ว (disease of bone)
1.แรงกระทำ (force or violence)
1.1แรงกระทำโดยตรง (direct force)
การถูกชน ถูกตี ลักษณะรอยหักของ กระดูกมักจะเป็นแบบตามขวาง (transverse fracture) แรงบดอัด (crush) จะทําให้กระดูกหักกเป็นหลายชิ้น (comminuted fracture) และแรงที่เกิดจากกระสุนปืน (penetrating) ที่มีความเร็วสูง จะทําให้ากระดูกก แตกเป็นชิ้นละเอียด
1.2 แรงกระทําทางอ้อม (indirect force)
มีแรงกระทำต่อกระดูกหนึ่ง และมีแรงกระทำต่อกระดูกใกล้เคียง เช่น การหกล้มก้นกระแทกพื้น แล้วเกิดการหักของกระดูกต้นขา (fracture neck of femur) หรือ การหกล้มเอามือยันพื้น ทําใหัเกิดการหักของกระดูกต้นแขนกระดูกมักหัก แบบปิด (closed fracture)
เนื้องอกกระดูก (Bone Tumor)
เนื้องอกกระดูกปฐมภูมิ (primary bone tumour)
อาการและอาการแสดง
คลำได้ก้อน
กระดูกหักแบบมีพยาธิสภาพ
ปวด
กระดูกผิดรูป
ตรวจพบโดยบังเอิญ
แนวทางการรักษา
ผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
สาเหตุ
ปัจจัยทางกายภาพ การได้รับรังสี การระคายเคืองอักเสบเรื้อรัง มีประวัติได้รับบาดเจ็บบริเวณที่เป็น
ติดเชื้อ
ความผิดปกติของยีน
เนื้องอกกระดูกทุติยภูมิ (secondary bone tumour หรือ metastatic bone tumour)
การวินิจฉัย
1.ผู้ป่วยที่เคยไดร้ับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งของอวยัวะใดอวยัวะหน่ึงอยู่แลว้และมาพบแพทย์ด้วย อาการปวดเพียงอย่างเดียว
2.ผู้ป่วยที่ไม่เคยมีประยุติว่าเป็นมะเร็งมาก่อน มาพบแพทย์ด้วยอาการปวดมากตอนกลางคืน……มีกระดูกหักแบบไม่มีพยาธิสภาพ……เกิดภาวะเเทรกซ้อนทางระบบประสาท
แนวทางการรักษา
ที่แขน ขา โดย ให้ยาแก้ปวด ฉายรังสี
ที่กระดูกสันหลัง โดย ฉายรังสีร่วมกับใส่เครื่องพยุงหลัง หรือผ่าตัดใส่โลหะยึด
โรคกระดูกพรุน หรือ โรคกระดูกโปร่งบาง(Osteoporosis)
อายุประมาณ 30- 35ปี เน้ือกระดูกจะลดลงอย่างช้าๆ แต่ในผู้ญิง เมื่อถึงวัยหมดประจำเดือนปริมาณเน้ือกระดูกจะลดลง อย่างรวดเร็ว
แนวทางการรักษา
2.ขจัดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้สูญเสียเนื้อกระดูก เช่น สุรา กาแฟ ยาสเตียรอยดู
3.รักษาด้วยยา
ยาที่มีฤทธิ์ลดการทำลายกระดูก เช่น ฮ.เอสโคตรเจน ฮ.แคลซิโทนิน แคลเซียม
ยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นการสร้างกระดูก เช่น วิตามินดีฟลูออไรด์
1.การออกกำลังกายซึ่งต้องมีการแบกรับน้ำหนักขณะออกกำลังกาย เช่น วิ่ง เดิน ยกน้ำหนัก
ปัจจัยเสี่ยง
5.ขาดการออกกำลังกายที่มีการแบกรับน้ำหนัก
6.คนผอมเสี่ยงเป็นมากกว่าคนอ้วน เพราะคนอ้วนมีไขมันที่สามารถเปลี่ยนเป็นฮ.เอสโตรเจนได้
4.สูบบุหรี่ดื่มสุรา
7.เป็นโรค เช่น เบาหวาน ขาดวิตามินดี ธาลัสซีเรียข้ออักเสบรูมาตอยด์ พิษสุราเรื้อรัง มะเร็งบางชนิด
3.กรรมพันธุ์
8.ได้รับยา เช่น ยาสเตียรอยด์ ยากันชัก ยาขับปัสสาวะ
2.กินโปรตีนที่มีโซเดียมเยอะ แต่กินแคลเซียมน้อย หรือดื่มกาแฟเกินวันละ4แก้วต่อวัน
9.ผู้สูงอายุ
1.ผู้หญิงหลังหมดประจำเดือน
การตัดแขนตัดขา (Amputation)
การพยาบาลหลังผ่าตัด
สังเกตุความเจ็บปวดหลังผ่าตัด
กระตุ้นให้ผู้ป่วยมี early Amputation 2-3วันหลังผ่าตัด
บันทึกสัญญาณชีพ และสังเกตแผลผ่าตัด
กระตุ้นให้ออกกำลังกายข้อต่างๆ
1. การจัดท่านอนเป็นสิ่งสำคัญ
ที่ต้องเข้ามงวดเพื่อป้องกันflexion contraction ของข้อ ซึ่งเกิดข้ึนได้ง่าย เนื่องจากความไม่สมดุลย์ของกล้ามเน้ือรอบตอขาและการอยู่ในท่าท่ีไม่เหมาะสม
เมื่อผู้ป่วยหัดยืนโดยใช้อุปกรณ์ควรดูแลอย่างใกล้ชิด
การพันผ้ายืดสาหรับผู้ป่วยที่มี Stump
วัตถุประสงค์ของการพันผ้ายืด
เพื่อเพิ่มความตึงตัวของกล้ามเน้ือบริเวณตอขา
เพื่อปกคลุมตอขา
เพื่อกระตุ้นการไหลกลับของเลือดดำ
ช่วยรักษารูปร่างตอขาที่เหมาะสมเพื่อเตรียมใส่ขาเทียม
เพื่อลดอาการบวมที่ส่วนปลาย
หลักการพันผ้ายืด
การเลือกขนาดผ้ายืด
พันผ้าไปทางเดียวกัน
พันผ้ายืดให้สูงถึงเหนือระดับข้อที่ใกล้กับอวัยวะที่ตัดมากที่สุด
ไม่พันผ้าซ้อนกันเกิน 2/3ของความกว้าง เพื่อลดการกองรวมกันของผ้าที่จุดใดจุดหนึ่งมากเกินไป
ไม่ควรพันผ้ายืดตลอด 24 ชั่วโมง
พันด้วยแรงสม่ำเสมอ
ชนิด
แบ่งตามลักษณะของแผล
Closed amputation เป็นการตัดอวัยวะส่วนนั้นแล้วเย็บปิดปลายกระดูกด้วยกล้ามเนื้อเเละผิวหนังทันทีแล้วใส่ท่อระบายเพื่อระบายใหเ้ลือดและน้ำเหลืองซึมออกจากแผลได้
2.Open amputation เป็นการตัดแนวเดียวกันทั้งผิวหนัง กล้ามเนื้อและกระดูกมักทำในผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อ
แบ่งตามตำแหน่งที่ตัด
Below Knee Amputation ตัดบริเวณใต้เข่าลงมา
Knee Disarticulation ตัดผ่านข้อเข่า
Syme'sAmputation ตัดต่ำกว่าข้อเท้า
Above Knee Amputation ตัดเหนือเข่า
Shoulder Disarticulation ตัดผ่านหัวไหล่
Hip Disarticulation ตัดผ่านข้อสะโพก
Above Elbow Amputation ตัดเหนือข้อศอก
Hind quarter or Hemipelvectomy ตัดขาออกรวมทั้งpelvis ครึ่งหนึ่ง
Below Elbow Amputation ตัดใต้ข้อศอก
การพยาบาลฟื้นฟูสภาพ
48ชั่วโมงแรก
1.ยกส่วนที่ผ่าตัดให้สูงขึ้น :
2.ในรายที่ผ่าตัดเหนือเข่าต้องระวังไม่ให้ข้อสะโพกงอ ควรกระตุ้นให้นอนคว่ำบ่อยๆ
หลัง48ชั่วโมง
3.นอนหงายแขนวางข้างลำตัวยกไหล่ แขน ศีรษะ ขึ้นจากที่นอนพร้อมกัน
4.พันตอแขน-ขาเพื่อเตรียมใส่แขน-ขาเทียม
5.ดูแลตอขาหลังการตัดไหม
2.ออกกำลังกาย
6.เตรียมตัวหัดเดิน
1.จัดท่านอน
โรคข้ออักเสบเรื้อรังชนิดหนึ่ง (Gouty Arthritis)
ปัจจัยที่ทำให้ร่างกายมีกรดยูริกสูง
1.อาหาร
เครื่องในสัตว์ หน่อไม้ ปลาซาร์ดีน กุ้ง หอย ปู เห็ด ผักโขม ดอกกะหล่ำ ทั้งหมดนี้มีพิษรีนสูง
2.ร่างกายสร้างขึ้นเอง ได้จากกระบวนการสังเคราะห์โปรตีน
การวินิจฉัย
จากประวันติมีอาการปวดบริเวณหัวแม่เท้าหรือข้อเท้ามักจะเป็นๆ หายๆ ปวดมากตอนกลางคืน หรืออากาศหนาว
๓. การตรวจหา uric acid ในเลือด จะพบว่าสูงกว่าปกติ (ชาย 6-6.5 mg% หญิง 7.5mg% )
การตรวจหา urate crystal โดยดูดเอาน้ำจากข้อที่สงสัยไปส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติทางmetabolismทาให้ระดับของกรดยูริคในเลือดสูงเนื่องจาก
ร่างกายไม่สามารถขับกรดน้ีออกจากร่างกายได้ เมื่อเกิดการคั่งของกรดยูริคในเลือด ทำให้เกลือของกรด ยูริค คือmonosodium urate ตกตะกอนในข้อ
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา
2.การรักษาโดยการผ่าตัด
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ(Infectious)
ข้อเสื่อม (Osteoarthritis)
ข้อสะโพกเสื่อม (Hip Osteoarthritis
รักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ไม่ได้รับการผ่าตัดเปลี่ยนข้อสะโพกเทียม
การป้องกัน ข้อ สะโพกเทียมหลุด (หลังผ่าตัดระยะแรก)
ใช้หมอนวางระหว่างขา 2ข้างตลอดเวลา
ให้ตัว และข้างที่ผ่าตัดเหยียดตรงขณะพลิกตัว
ไม่งอขาทนั ที ไม่บิดขาหรือหมุนขอ้ สะโพกออกนอกและเข้าในมากเกินไป
ให้วางผ้า หรือหมอนทรายไว้ข้างสะโพกและตลอดแนวขาข้างที่ผ่าตัดป้องกันไม่ให้มีการ หมุนบิดของขาออกด้านนอก มากเกินไป
ข้อห้ามและข้อควรปฏิบัติ
ห้ามนั่งเก้าอี้เตี้ยหรือนั่งยองๆ
ห้ามนั่งอี้ที่ไม่มีที่วางแขน
ห้ามนั่งไขว่ห้างหรือนั่งไขว้ขาหรือนอนไขว้ขาโดยเฉพาะข้างที่ผ่าตัดไขว้ขาข้างดี
ห้ามหมุนสะโพก (ขา)
ห้ามงอสะโพกมากกว่า 9องศา เพราะจะทำให้ข้อหลุดได้
ห้ามนอนตะแคงทับหาข้างดีโดยไม่มีหมอนกั้น
ห้ามโน้มตัวหรืองอสะโพกขึ้นมามาก
ลดน้ำหนัก
บริหารร่างกาย
ใช้ไม้ค้ำยัน
ข้อเข่าเสื่อม(OsteoarthritisofKnee)
การรักษา
รักษาด้วยยา
รักษาทางกายภาพบำบัด
ให้ความรู้
รักษาโดยการผ่าตัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ผ่าตัดเปลี่ยนข้อเข่าเทียมทดแทน
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
ฝึกให้ผู้ป่วยบริหารกล้ามเนื้อข้อเข่า
ดูแลให้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ส่งเสริมกระดูก ส่งเสริมการหายของแผล
บรรเทาอาการปวดโดยการให้พักการใช้งานของข้อ
เตรียมการทางด้านจิตใจ
เตรียมการด้านร่างกาย
การพยาบาลหลังผ่าตัด
สังเกตอาการตกเลือดที่ซึมจากแผล
ดูแลยาและสารน้ำให้เหมาะสม
บันทึกสัญญานชีพ
จัดท่านอนที่เหมาะสม
ดูแลผิวหนัง ระวังแผลกดทับ
ดูแลการหายใจ เอาเสมหะออก
สังเกตุอาการปวด
การขับถ่าย
แนะนำการออกกำลังกายกล้ามเนื้อขาหลังผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ข้อบวมโต (joint enlargement)
ข้อผิดรูป (deformity)
เสียงกรอบแกรบภายในข้อ (crepitus)
ข้อติด (stiffness)
อาการปวด (paint)
การฟื้นฟูสภาพผู้ป่วยหลังผ่าตัดเปลี่ยนกระดูกข้อเข่าเทียมทดแทน
วันที่3-4หลังผ่าตัด
ออกกำลังกายกล้ามเนื้อquadricepsต่อ
ออกกำลังกาย เหยียด งอเข่า
ให้ผู้ป่วยลองยกขาสูงเอง
ให้ช่วยเหลือตัวเองมากขึ้น
วันที่4-5หลังผ่าตัด
เหยียดเข่าในท่านั่ง
ยกขาสูงในท่านอนตะแคง และงอเข่าในท่าคว่ำ
ออกกำลังกายเหมือนวันที่3-4
หัดลงจากเตียงมานั่งเก้าอี้
วันที่2-3หลังผ่าตัด
ออกกำลังกายกล้ามเนื้อquadriceps
เคลื่อนไหวบนเตียงโดยใช้เครื่องช่วยโหนตัว
วันที่5-7หลังผ่าตัด
ออกกำลังกายเหมือนวันที่4-5
เคลื่อนย้ายตัวมานั่งเก้าอี้
หัดเดินโดยใช้เครื่องพยุงสี่ขา
วันที่1-2หลังผ่าตัด
กระดกปลายเท้าขึ้นกระตุ้นการไหลเวียน
หายใจลึกยาวบริหารปอด
นอนพักขาสูง
สาเหตุ
ความอ้วน
การได้รับบาดเจ็บบริเวณข้อ
อายุ
มีการติดเชื้อที่ข้อ
อิริยาบถต่างๆในการใช้ข้อ
ใช้ยาพวกสเตียรอยด์
พันธุกรรม
คําแนะนําเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวของผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม/หลังผ่าตัดเปลี่ยนกระดูกข้อเข่าเทียมทดแทน
ลุกจากที่นอนควรใช้ท่าตะแคง
ข้ึนบันได
ลง ก้าวขาข้างที่ปวดลง โดยเหยียดเข่าตรงทิ้งน้ำหนักตัว ลงท่ีขาข้างทาง ขาอีกข้างตาม
ขึ้น ก้าวขาข้างที่ไม่ปวดข้ึน แลังโถมตัว ไปข้างหน้าก้าวขาข้างท่ีปวดข้ึนตาม
หลีกเลี่ยงการกดของกระดูกภายในข้อ
หลีกเลี่ยงการนั่งส้วมที่ต้องงอเข่าเต็มที่
ลดน้ำหนักหากน้ำหนักเกิน
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)
สาเหตุ
โรคติดเชื้อบางชนิด
ฮอร์โมนเพศและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ
พันธุกรรม
อาการแสดง
บวมแดงร้อน
ปวดข้อ
เจ็บ
โรคกระดูกอักเสบติดเชื้อ (osteomyelitis)
แบ่งตามระยะและความรุนแรงของโรค
subacute osteomyelitis
ติดเชื้อแบบค่อยๆเกิด มักไม่มีอาการเจ็บป่วย อาจมีปวดเล็กน้อย
การรักษาทั่วไป
ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก
ทำการขูดล้างโพรงกระดูก (Debriment)
ให้ยาปฏิชีวนะ
chronic osteomyelitis
การรักษา
3.จัดให้กระดูกที่มีการอักเสบอยู่นิ่งๆ
4.การปลูกกระดูก(bonegraft)
การใช้ยาปฏิชีวนะเฉพาะที่
การทาผ่าตัดเอากระดูกที่เน่าตายออก (sequestrectomy) การทาแผล
การให้ยาปฏิชีวนะทั่วไป
ภาวะแทรกซ้อน
แผลเป็น
กระดูกสั้นกว่าปกติ
ข้อติดแข็ง กล้ามเนื้อลีบ
แผลเป็นกลายเป็นมะเร็ง
กระดูกหักบริเวณที่มีพยาธิสภาพ
อาการ
ปวดบริเวณที่มีการอักเสบติดเชื้อ
ผิวหนังแดง ตึง
ไข้
รูหนอง
acute osteomyelitis
อาการและอาการแสดง
ทั่วไป : ไข้สูง
เฉพาะที่ : ปวด บวม แดง ร้อนบริเวณกระดูกที่มีการติดเชื้อ
การรักษาทั่วไป
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ให้ส่วนที่มีพยาธิสภาพได้พัก
ให้ได้รับอาหารที่มีประโยชน์
สาเหตุ
ไวรัส
เชื้อรา
แบคทีเรีย
ปรสิต
นางสาวสิรินทิพย์ สืบด้วง รหัสนักศึกษา 62126301078 เลขที่ 75