Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 บุคคลากรในงานก่อสร้าง และอำนาจหน้าที่ - Coggle Diagram
บทที่ 4
บุคคลากรในงานก่อสร้าง และอำนาจหน้าที่
4.1 ผู้เกี่ยวข้องในโครงการก่อสร้าง และบทบาทหน้าที่
ผู้ออกแบบ มีภาระหน้าที่ รับผิดชอบ ประกอบด้วยออกแบบสิ่งที่ก่อสร้างได้ออกแบบโดยคํานึงถึงการใช้ชิ้นส่วน หรือส่วนประกอบที่ซํ้า ๆ กันเพื่อให้ผู้ก่อสร้างเกิดความชํานาญ ปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ และใช้ทรัพยากรซ้ํา ๆ กัน (Reuse) ได้
ผู้ก่อสร้าง มีภาระหน้าที่ รับผิดชอบ ประกอบด้วย ดูสถานที่กอสร้าง และศึกษาข้อมูล
เพื่อทราบปัญหาอุปสรรค
ผู้จัดการโครงการทางวิศวกรรม คุณลักษณะของผู้จัดการโครงการทางวิศวกรรมประกอบด้วย รอบรู้ในงานวางแผน ออกแบบก่อสร้าง และจัดการ มีความสามารถรอบรู้ ทักษะ และประสบการณ์ในงานวิศวกรรม
4.2 องค์กร และบุคลากรงานก่อสร้าง
องค์กรแบบ Functional Organization
โครงสร้างองค์กร ประกอบด้วยตําแหน่งหน้าที่ ความรับผิดชอบ สายการบังคับบัญชา แบ่งตามความสามารถ
องค์กรแบบ Discipline Organizations
เป็นองค์กรที่แบ่งแยกย่อยตามความ
เชี่ยวชาญ หรือลักษณะงาน คล้ายคณะวิชาต่าง ๆ แบ่งย่อยเป็นภาควิชา
องค์กรแบบ Product Organization
จัดแบ่งองค์กรเป็นแผนกย่อย ๆ ตามลักษณะธุรกิจ หรือความเชี่ยวชาญเช่นกัน คล้ายคลึงกับ องค์กรแบบ Discipline Organizations แต่รายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกัน
องค์กรแบบ Regional Organization
คือการจัดองค์กรตามสภาพภูมิศาสตร์ ใช้กับองค์กรที่มีสาขา หลายพื้นที่ มีลักษณะการทํางาน การผลิต หรือผลิตผลแบบเดียวกัน
องค์กรแบบ Matrix
จะมีผู้จัดการย่อย เช่น ผู้จัดการ
โครงการ จะมีอํานาจหน้าที่บริหารจัดการเสมือนเป็นผู้บริหารระดับสูงสุดขององค์กร
องค์กรแบบ Team Organization
จะแบ่งการบริหารจัดการองค์กรคล้ายแบบ
Function หรือ Discipline คือ แบ่งตามแผนก หรือฝ่ายหรือกลุ่มความเชี่ยวชาญ แต่ละกลุ่มงานมีสมาชิกกลุ่ม ผู้นํากลุ่มต่างมีทีมงาน แต่ไม่ได้แยกบริการจัดการ
4.3 การคัดสรร และฝึกฝนบุคคลากรในองค์กร
บุคคลากร เป็นทรัพยากรสําคัญในการทํางาน
อาจมีหลายระดับ แบ่งความตําแหน่งหน้าที่รับผิดชอบ
ซึ่งขึ้นกับความรู้ความสามารถ ประสบการณ์
จัดหา คัดสรร (Recruitment)
โดยกําหนดจตําแหน่งหน้าที่ ความรู้ความสามรถประสบการณ์ และอื่น ๆ ที่จําเป็นต่อการทํางาน
บุคคลากรที่ถูกคัดเลือกจะถูกอบรมให้ความรู้พื้นฐานในการทํางาน
4.4 ข้อมูลขาวสาร การสื่อสาร และการตัดสินใจในองค์กร
วัตถุประสงค์ของการสื่อสาร คือการถ่ายทอด หรือสื่อข่าวสาร ความหมาย ความเข้าใจทราบสถานการณ์ภายใน และภายนอกองค์กร เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารซึ่งจะ
นําไปสู่การร่วมคดิ หรือร่วมตัดสินใจ การสื่อสารสร้างความเข้าใจระหว่างกระบวนทํางาน
การสื่อสาร อาจใช้สนทนา ด้วยวาจา (Verbal communication) โดยตรง หรือผ่านสื่อ (Media for communication)
อุปสรรคในการสื่อสารที่มีนัยต่อความถูกต้องแม่น
ตรง (Accuracy or precision) หรือความน่าเชื่อถือ (Reliability) ของข้อมูลข่าวสาร ปัญหา หรืออุปสรรคของการสื่อสารในองค์กรอาจเกิดได้ทั้ง จากบุคคล ข้อมูลข่าวสารวิธี หรือเส้นทางการสื่อสาร
องคาพยพของข้อมูล และข่าวสาร ประกอบด้วย ประเภทของข้อมูลข่าวสาร (ประเด็นหรือเรื่อง หรือหัวข้อ) วัตถุประสงคของข้อมูลข่าวสาร
การบริหารงานก่อสร้าง ข้อมูลข่าวสาร ย่อมเป็นประโยชน์ต่อการวางแผน ใช้พิจารณา ตัดสินใจ การสื่อสารในองค์กร