Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูกข้อ เเละกล้ามเนื้อ…
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับกระดูกข้อ เเละกล้ามเนื้อ การบาดเจ็บของกระดูกเเละกล้ามเนื้อ
ข้อเเพลง(sprain)
เป็นการฉีกขาดของเส้นเอ็น
เกรด 1 ระดับเล็กน้อย(mind sprain) ผู้ป่วยจะไม่มีอาการเเสดงหรืออาจรู้สึกเจ็บเพียงเล็กน้อย
เกรด 2 ระดับปานเกลาง มีอาการบวม อวัยวะใช้งานได้ไม่เต็มที่
เกรด 3 ระดับรุนเเรง(severe sprain) อวัยวะสูญเสียหน้าที่ไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
ข้อเคล็ด(strain)
การที่เส้นเอ็นหรือกล้ามเนื้อถูกยืดออกหรือใช้งานอย่างเฉียบพลัน
สาเหตุ
หกล้ม ตกหลุม เล่นกีฬา
อาการเเละอาการเเสดง
ปวดข้อถ้ากดบริเวณข้อจะยิ่งปวดมากขึ้น ข้อบวมช้ำ
การรักษา
ห้ามนวดด้วยยาหม่อง
ข้อเคล็ดใน 24 ชั่วโมงเเรกให้เอาน้ำเเข็งประคบเพื่อลดบวม
ข้อเคลือน (dislocation)
หัวกระดูกสองอันมาชนประกอบขึ้นเป็นข้อเคลื่อน
สาเหตุ เกิดจากการ เหวี่ยง บิด กระชาก
อาการเเละอาการเเสดง
ปวด บวม สภาพวิกลรูป ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ การตรวจเส้นประสาทเเละหลอดเลือด
การประเมินสภาพ
ถ่ายภาพรังสีก่อนเเละหลังให้การรักษา โดยถ่าย 2 ท่า ตรง(AP view) ท่าด้านข้าง(lateral view)
การวินิจฉัยข้อเคลื่อน
สาเหตุ
ตำเเหน่งที่ข้อเคลื่อนไป
ความรุนเเรง
ความถี่บ่อยของการเคลื่อน
การบาดเจ็บร่วมอื่นๆ
การรักษา
การดึงข้อกลับเข้าที่
การตรึงข้อ
การบริหารข้อเเละกล้ามเนื้อรอบข้อ เพื่อลดปัญหาข้อยึดติดกล้ามเนื้อรีบ
การพยาบาลเเละการฟื้นฟู
ยกอวัยวะส่วนที่มีการหักให้สูงขึ้น
เคลื่อนไหวส่วนของร่างกายในส่วนที่ไม่ได้ถูกจำกัดการเคลื่อนไหวเพือช่วยลดการบวม
การออกกำลังกายเพื่อป้องกัยข้อติด
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความเเข็งเเรงของกล้ามเนื้อ
การฝึกเดินโดยใช้เครื่องช่วยเดินที่เหมาะสม
การลดการบวมโดยทั่วไป
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มพิสัยของข้อ
การออกกำลังกายเพื่อเพิ่มความเเข็งเเรงของกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ(Noninfectious)
โรคกระดูกพรุนหรือโรคกระดูกบาง (Osteoporosis)
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้หญิงหมดประจำเดือนเนื่องจากภาวะขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน
การกินอาหารไม่ถูกสัดส่วน
กรรมพันธ์ ครอบครัวที่เป็นโรคจะเสี่ยงสูงขึ้น
สูบบุหรี่ดื่มสุรา
ขาดการออกกำลังกายที่มีการเเบกรับน้ำหนัก
น้ำหนักตัวคนผอมมีความเสี่ยงมากกว่าน้ำหนักตัวคนอ้วน
เป็นโรคบางขนิด เช่น เบาหวาน
ผู้สูงอายุ
ได้รับยาบางชนิด เช่น ยากันชัก
การวินิจฉัย
ใช้หลายวิธีรวมๆกัน เช่น ประวัติความเจ็บป่วย การเอกซเรย์กระดูก การวัดด้วยคลื่นเสียงอัลตร้า การวัดความหนาเน่นของกระดูก
เเนวทางการรักษา
การออกกำลังกายซึ่งต้อเเบกรับน้ำหนักขณะออกกำลังกาย
ขจัดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้สูญเสียเนื้อกระดูก เช่น ดื่มเหล้า
การรักษาด้วยยา
ยาที่มีฤทธิ์ทำลายกระดูกเช่น ฮอร์โมนเอสโตรเจน
ยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นสร้างกระดูก เช่น วิตามินดีฟลูออไรด์
ยาฮอร์โมนเอสโตรเจน ห้ามใช้ในผู้ที่เป็นมะเร็งมดลูก มะเร็งเต้านม โรคตับ
เเคลเซียม ควรให้เเคลเซียมร่วมกับฮอร์โมนเอสโตรเจนเเคลซิโทนินหรือวิตามินดี
กระดูกหัก (fracture)
การที่กระดูกเเตกออกจากกันเป็น 2 ส่วนหรือมากกว่า
สาเหตุ
เเรงกระทำ
โดนตรง เเรงที่มากระทำกับกระดูกโดนตรง เช่น รถชน
เเรงกระทำทางอ้อม เเรงที่กระทำต่อกระดูกที่หนึ่งเเล้วกระทบมากระดูกอีกที่ เช่น หกล้ม
การกระตุกหรือหดรัดของกล้ามเนื้ออย่างเเรง
การหักหรือหลุดดของกระดูกเเละข้อที่มีโรคหรือพยาธิสภาพอยู่ก่อนเเล้ว
ชนิดของกระดูกหัก
กระดูกหักเเบบเปิด กระดูกหักเเล้วมีบาดเเผลร่วมด้วย
การประเมินสภาพผู้ป่วย
ประวัติผู้ป่วย
การตรวจร่างกาย
การตรวจโดยใช้ภาพถ่ายรังสี
การรักษาภาวะเเทรกซ้อน
Recognition ตรวจเเละวินิจฉัย
Reductionการจัดเรียงกระดูกให้เข้าที่
Retemtion
Rehablitation
refer การส่งต่อ
การพยาบาล
กรณีผู้ป่วยใส่เฝือกที่เเขน
ใช้ผ้าคล้องคอเพื่อผยุงเเขนสม่ำเสมอ
ใช้งานเเขนข้างที่ปกติ ออกกำลังกายเเขนสม่ำเสมอ
เนื้องอกกระดูกBoneTumor
เเบ่งออกเป็น 2 ชนิด
Benign tumors เนื้องอกชนิดไม่ร้ายเเรง เกิดเฉพาะที่ไม่เเพร่ไปอวัยวะอื่น
malignant เนื้องอกชนิดร้ายเเพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น
เเบ่งได้ 2 กลุ่่ม
ปฐมภูมิ เกิดในกระดูก
สาเหตุ
ความผิดปกติของยีน
ปัจจัยทางกายภาพ เช่นได้รับรังสี
ปัจจัยด้านการติดเชื้อ
อาการเเละอาการเเสดง
ปวด คลำได้ก้อน กระดูกหักเเบบมีพยาธิสภาพ กระดูกผิดรู) ตรวจพบโดยบังเอิญ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ภาพถ่ายรังสี การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ตัดชิ้นเนื้อไปตรวจ
การรักษา
ผ่าตัด เพื่อป้องกันการกลับมาเป็นซ้ำ
เคมีบำบัด
รังสีรักษาช่วยให้เนื้องอกมีขนาดเล็กลง
ทุติยภูมิ เเพร่กระจายจากอวัยวะอื่นไปยังกระดูก
เเนวทางการรักษา
เป็นบริเวณกระดูกเเขนเเละขาเพื่อบรรเทาปวดโดยให้ยา รังสี
Ampulation การตัดเเขนเเละขา
ชนิดของ Ampulation
การตัดใต้ข้อศอก B.E. ampulation
Syme ampulation
A.E. ampulation การตัดเหนือข้อศอก
Below knee ampulation
Knee Disartculation
Hip Disarticulation
Kind Quarter
การพยาบาลหลังผ่าตัด
ใน 24 ชั่วโมงเเรกต้องประเมินเเละเฝ้าระวังภาวะเเทรกซ้อน
คำเเนะนำหลังกลับบ้าน
เเนะนำให้หลีกเสี่ยงท่าที่ไม่ถูกต้อง
ดูเเละรูปน่างของตอเเผลเพื่อให้สามารถใส่เเขนขาเทียมได้
โรคกระดูกอักเสษติดเชื้อ Osteomyelitis
Acute Osteomyelitis
พบมากบริเวณกระดูกยาว
Chronic Osteomyelitis
การติดเชื้อเฉียบพลัยที่ไม่ได้รับการรักษาอย่างเพียงพอ
Subacute Osteomyelitis
เป็นการอักเสบที่ค่อยๆเกิดรักษาโดยให้ยาปฏิชีวนะ
โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ (Rheumatoid Arthritis)
เป็นการอักเสษเรื้อรังของข้อหลายข้อ
สาเหตุ
พันธุกรรม
โรคติดเชื้อบางชนิด เช่เชื้อเเบคทีเรีย เชื้อไวรัส
ฮอร์โมนเพศเเละสิ่งเเวดล้อมอื่นๆ
อาการเเละอาการเเสดง
เจ็บปวดข้อ บวมเเดง ลักษณะของข้อจะเป็นเหมือนกันทั้งสองข้าง ผู้ป่วยจะมีอาการฝืดตึงตอนเช้ามักเป็นนานกว่า 1 ชม
การรักษา
ระยะเเรกให้พักการใช้ข้อให้พักผ่อนให้เพียงพอ บริหารข้อเพื่อป้องกันข้อติด
การรักษาด้วยยา
ยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่เสตรียรอยด์ จะลดความเจ็บปวดเเต่ไม่ยับยั้งการดำเนินของโรค
ยาต้านรูมาติสซั่มให้เพื่อป้องกันความพิการให้ผู้ป่วยสามารถทำงานได้ปกติ
ยาเสตรียรอยด์ มีอาการข้างเคียงเเละหยุดยายาก
Gouty Arthritis
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติของ mrtabolism ทำให้ระดับยูริกในเลือดสูงเเละร่างกายขับอออกไม่ได้ ทำให้ตกตะกอนในข้อทำให้เกิดการอักเสบ
ปัจจัยที่มีผลให้มีกรดยูริกสูง
อาาร เช่นเครื่องในสัตว์ หน่อไม้ กุ้ง หอย
ร่างกายสร้างขึ้นเอจากกระบวนกรสังเคราะห์โปรตีน
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจหา urate crystal
ดูดน้ำจากข้อที่สงสัยไปส่องกล้องจุลทรรศน์
ประวัติปวดข้อที่เป็นๆหายๆ
การตรวจหา uric acid ในเลือด พบว่าสูงกว่าปกติ
การรักษา
รักษาด้วยยา
โคลซิซิน ผลข้างเคียง คลื่นไส้ อาเจียน
สเตรียรอยด์ ใช้ในรายที่ไม่ตอบสนอง
ยาที่ออกฤทธิ์ลดการสร้างกรดยูริคในร่างกาย
ยาที่ออกฤทธิ์เร่งการขับยูริคทางไต
การรักษาโดยการผ่าตัด
ถ้าผลึกมาสะสมมากทำให้ข้อเเข็งต้องผ่าตัด
ถ้าเป็นเเผลเรื้อรังให้ทำ skin grafe
Osteoarthritis
การพยาบาล
ข้อเสื่อมปฐมภูมิ
ความเสื่อมที่เกิดขึ้นเองโดยไม่มีโรค
ข้อเสื่อมทุติยภูมิ
เกิดขึ้นโดยโรคหรือความผิดปกติของข้อ พบได้ทุกวัย
สาเหตุ
อายุ
ความเสื่อมของข้อ
ความอ้วน ทำให้ข้อต้องรับน้ำหนักที่มากเกินไป
การติดเชื้อ
อาการเเละอาการเเสดง
ปวด
ข้อบวมโต
ข้อติดรูป
ข้อติด
ข้อสะโพกเสื่อม
การรักษาสำหรับหนุ่สาวให้ทำ osteotomy ภ้ามากให้ทำการเชื่อมข้อ