Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติ เกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ,…
การพยาบาลผู้ใหญ่ที่มีความผิดปกติ
เกี่ยวกับกระดูก ข้อ และกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ
(Noninfectious)
Gouty arthntis
เป็นความผิดปกติทาง Metabolism ทำให้ระดับกรดยูริกในเลือดสูง
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ได้แก่ โคลซิซิน , ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ , สเตียรอยด์ , ยาที่ออกฤทธิ์ลดการสร้างกรดยูริคในร่างกาย , ยาที่ออกฤทธิ์เร่งการขับกรดยูริคทางไต
การรักษาด้วยการผ่าตัด
Bone tumor
เนื้องอกกระดูก
แบ่งได้เป็น
2 ชนิด
Benign tumor
: เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรง เกิดเฉพาะที่ไม่ค่อยแพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น
-Oma
Malignant tumor
: เนื้องอกชนิดร้าย สามารถแพร่ไปยังอวัยวะส่วนอื่นได้
เนื้องอกกระดูกแบ่งได้ 2 กลุ่ม
1.เนื้องอกกระดูกปฐมภูมิ (Primary bone tumor)
: เป็นเนื้องอกที่เริ่มเกิดขึ้นในกระดูก โดยมากจะหมายถึง พวกSarcoma
สาเหตุ
อาจเกิดมาจาก
ความผิดปกติของยีน
ปัจจัยกายภาพ
ปัจจัยด้านการติดเชื้อ
ปัจจัยอื่นๆ
อาการ
ปวด คลำได้ก้อน กระดูกหักแบบมีพยาธิสภาพ กระดูกผิดรูป ตรวจพบโดยบังเอิญ
แนวทางการรักษา
1.การผ่าตัด 2.เคมีบำบัด 3.รังสีรักษา
2.เนื้องอกกระดูกทุติยภูมิ (Secondary bone tumor )
: มะเร็งที่แพร่กระจายจากอวันวะอื่นมายังกระดูก หมายถึงพวก Carcinoma พบบ่อยในผู้ที่มีอายุมากกว่า 40 ปี
วินิจฉัยแบ่งเป็น 2กลุ่ม
ผุ้ป่วยที่เคยได้รัยการวินิจฉัยวาเป้นมะเร็งอยู่แล้ว มาพบแพทย์ดวยอาการปวดเพียงอย่างเดียว
ผู้ป่วยที่ไม่เคยมีประวัติว่าเป็นมะเร็งมาก่อน มาพบแพทย์ด้วยอาการปวด มีกระดูกหักแบบไม่มีพยาธิสภาพมาก่อน เกิดภาวะแทรกซ้อนทางระบบประสาทเร็ว
แนวทางการรักษา
จุดประสงค์เพื่อบรรเทาอาการปวด และเพิ่มคุณภาพชีวิตให้แก่ผู้ป่วย
2.รักษาด้วยการฉายแสง :
Fracture
กระดูกหัก
ภาวะที่เนื้อเยื่อการดูกขาดความต่อเนื่อง โดยทั่วไปหมายถึงกระดูกที่แตกออกจากกัน โดยได้รับการกระทำจากแรง
สาเหตุ
1.แรงกระทำ คือแรงกระทำโดยตรงและ แรงกระทำทางอ้อม
2.การกระตุกหรือการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างแรง
3.การหักหรือหลุดของกระดูกข้อที่มีโรคหรือพยาธิสภาพอยู่ก่อนแล้ว
ชนิดของกระดูก
แบ่งตามลักษณะของบาดแผล 1.กระดูกหักแบบเปิด(closed fracture) 2.กระดูกหักแบบปิด (open fracture )
หลักการรักษากระดูกหัก 5R/6R
Recognition ตรวจวินิจฉัยให้ได้ว่ามีกระดูกหักหรือไม่
Reduction การจัดกระดูกให้เข้าที่ ใกล้เคียวสภาพเดิมที่สุด closed reduction/open reduction
Retention การประคับประคองให้กระดูกอยู่นิ่งกับที่หลังจากจัดกระดูก
Rehabilitation การฟื้นฟูสมรรถภาพส่วนที่บาดเจ็บ ส่วนร่างกายทั่วไปรวมถึงจิตใจ
Reconstruction การแก้ไขซ่อมแซมส่วนที่สูญเสียจากการบาดเจ็บเพื่อให้กลับมาใช้งานได้ดีขึ้น
Osteoporosis
โรคกระดูกพรุนหรือโรคกระดูกโปร่งบาง
เกิดในวัยหมดประจำเดือน
การกินอาหารที่ไม่ถูกสัดส่วน
กรรมพันธ์
สูบบุหรี่ ดื่มสุรา
แนวทางการรักษา
ออกกำลังกาย
ขจัดปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เสียเนื้อกระดูก
รักษาด้วยยา เช่นยาที่มีฤทธิ์ทำลายกระดูก จำพวกแคลซียม ฮอร์โมนเอสโตรเจน และยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นการสร้างกระดูก จำพวกวิตามินดีฟลูออไรด์
Amputation
แบ่งตามตำแหน่งการผ่าตัด
1. ระยางส่วนบน (Upper extremities)
การตัดใต้ข้อศอก
การตัดเหนือข้อศอก
การตัดผ่านข้อของกระดูก
2.ระยางค์ส่วนล่าง (lower extremities)
การตัดเหนือข้อเท้าเล็กน้อย ยังคงส้นเท้าไว้
การตัดใต้ข้อเข่า
การตัดผ่านข้อเข่า
การตัดเหนือเข่า
การตัดผ่านข้อสะโพก
กิจกรรมการพยาบาลหลังผ่าตัด
: ใน 24 ชม.แรก ต้องประเมินและเฝ้าระวังความเสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัด เช่นการเสียเลือด ความปวดที่รุณแรง การติดเชื้อ
โรคกระดูกที่เกิดจากการติดเชื้อ
(Infectious)
Osteomyelitis
Rheumatoid arthritis
ข้ออักเสบรูมาตอยด์
: เป็นโรคที่มีการอักเสบเรื้อรังของข้อหลายข้อ ซึ่งพยาธิสภาพที่เกิดขึ้นจะนำไปสู่ความพิการ และทุพลภาพของผู้ป่วยได้ในที่สุด
พบบ่อยในผู้ที่มีอายุระหว่าง 30-50 ปี
พบในเพศหญิงมากกว่าเพศชาย
อาการ
ระยะแรกผู้ป่วยจะมีอาการเจ็บปวดข้อ มีบวมแดงร้อนของข้อหลายข้อ
ผู้ป่วยจะมีอาการฝืดตึงตอนเช้า มักเป็นนานกว่า 1 ชม.
ระยะต่อมามีการเปลี่ยนแปลงขแงรูปร่างของข้อ จากการถูกกัดกร่อนของกระดูกอ่อนและกระดูกแข็งทีอยู่ใต้กระดูกอ่อน ทำให้ข้อแคบและติด เส้นเอ็นรอบข้อมีการหลวมหลุดและหดตัว
ในรายที่เป็นรุณแรง จะพบก้อนเนื้อที่ค่อนข้างแข็งในบริเวณใต้ผิวหนัง
มีอาการอื่นๆร่วมด้วย เช่น มีไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย น้ำหนักลดลง ต่อมน้ำเหลืองโตได้
การรักษา
- ในระยะแรกที่มีการอักเสบของข้อ ควรให้ผู้ป่วยได้พักการใช้งานข้อ
รักษาโดยการใช้การใช้ยา : ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ , ยาต้านรูมาติสซั่ม , ยาสเตียรอยด์ ที่ใช้บ่อย (Prednisolone)
การรักษาด้วยการผ่าตัด : จะทำในรายที่ได้รับยารักษาอย่างเต็มที่แล้วแต่ยังมีข้ออักเสบเรื้อรังอยู่
Osteoarthritis
แบคทีเรีย เชื้อรา ไวรัส ปรสิต
เชื้อโรคที่สามารถเข้าสู่กระดูกได้โดย
1.Haematogenous spreading
Direct spreading
3.Indirect spreadind
แบ่งความรุนแรงของโรคได้
3ระยะ
1.Acute Osteomyelitis
: การอักเสบติดเชื้อของกระดูกอย่างปัจจุบันหรือเฉียบพลัน มักพบเชื้อที่กระจายมาตามกระแสเลือด พบมากบริเวฯกระดูกยาว
อาการ
: ไข้สูง ปวด บวม แดง ร้อน บริเวณกระดูก
การรักษา
: ให้ยาบรรเทาอาการปวด ลดไข้ และยาปฎิชีวนะ ให้ได้รับสารอาหารที่มีประโยชน์ และการรักษาเฉพาะที่ เช่นประคบด้วยความเย็น และผ่าตัดเอาหนองออก
2.subacute Osteomyelitis
: เป็นการอักเสบติดเชื้อที่ค่อยๆเกิด ไม่มีอาการเจ็บ
การรักษา
: ให้ยาปฎิชีวนะ ทำการขูดล้างโพรงกระดูก
3.Chronic osteomyelitis
: การอักเสบติดเชื้อเฉียบพลันที่ได้รับการรักษาไม่เพียงพอ
อาการ
: ไข้ ผิวหนังแดง รูหนอง ปวดบริเวณที่มีการติดเชื้อ
การรักษา
: ให้ยาปฎิชีวนะ ปลูกกระดูก
ภาวะแทรกซ้อน
: ข้อติดเเข็ง กล้ามเนื้อลีบ แผลเป็น กระดูกสั้นกว่าปกติ
การพยาบาลผู้ป่วยข้อเสื่อม
สาเหตุของการปวดข้อ แบ่งเป็น 2 ชนิด
1.ข้อเสื่อมปฐมภูมิ (primary Osteoarthritis)
: การเสื่อมที่เกิดขึ้นเองโดยไม่มีโรค หรือความผิดปกติของข้อนั้นมาก่อน พบได้ในคนอายุ 40-45ปีขึ้นไป
2.ข้อเสื่อมทุติยภูมิ (Secondary Osteoarthritis)
: การเสื่อมที่เกิดขึ้นโดยมีโรคความผิดปกติของข้อนั้นเป็นสาเหตุ พบได้ทุกอายุ
อาการ
: 1.อาการปวด เป็นอาการสำคัญที่ผู้ป่วยมาพบแพทย์
2.มีเสียงดังกรอบแกรบภายในข้อขณะเคลื่อนไหว
3.ข้อบวมโต เกิดจากเยื่อบุข้อสร้างน้ำเลี้ยงข้อมากขึ้น
4.ข้อผิดรูป ในรายงานที่เป็นมานานอาจจะโก่งออก
5.ข้อติด งอเข่าได้น้อย และเหยียดตรงไม่ได้
การรักษา: ผ่าตัด
septic arthritis
นางสาวสุมิตตา ช่อมะลิ เลขที่ 81 621401084