Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านความคิดและการรับรู้:
…
การพยาบาลผู้ที่มีความผิดปกติทางด้านความคิดและการรับรู้:
การพยาบาลผู้ป่วยจิตเภท (Nursing intervention in Schizophrenia)
-
-
การจำแนกชนิดของโรคจิตเภท
-
- Disorganized Type (Hebephenic)
-
-
-
-
-
การดำเนินโรค
การดาเนินโรคมักไม่เด่นชัด เป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป แต่ละรายแตกต่างกันมาก เมื่อเป็นโรคนี้แล้วโอกาสจะหายเป็นปกติมีน้อย ส่วนมากผู้ป่วยมักมีความผิดปกติของบุคลิกภาพเหลืออยู่มีเพียงส่วนน้อยที่เป็นปกติ เมื่อเป็นหลายๆครั้งผู้ป่วยจะยิงผิดปกติมากจนเกิดปัญหาในการดำเนินชีวิตและการทำงาน บางรายต้อง อยู่โรงพยาบาลจิตเวชเป็นเวลานานๆหรือเป็นภาระต่อญาติพี่น้องอยางมาก เพราะผู้ป่วยไม่สามารถทางานช่วยตัวเองได้ผู้ป่วยมักอยู่ตามลำพังในบ้าน ขาดความสัมพันธ์ตามปกติที่ควรมีกับคนในบ้านมีพฤติกรรมแปลกๆ รวมทั้งอาการประสาทหลอนและหลงผิด
-
Bleuler ติดตามผลการรักษาผู้ป่วยโรคจิตเภทจำนวน 500 ปี ในเวลา15 ปีได้สรุปการดำเนินโรค แบ่งผู้ป่วยออกเป็น 4 กลุ่มๆละประมาณ 1ใน 4 ดังนี้
-
-
-
-
การวินิจฉัยโรค
-
-
-
3.มีอาการดังต่อไปนี้ (1) มีความผิดปกติของรูปแบบของความคิด (2) มีอาการหลงผิด (3) มีอาการประสาทหลอน (4) พฤติกรรมของผู้ป่วยผิดปกติ (5)มีอารมณ์แบบ apathyหรือ inappropriate และ (6) insight เสีย
4.ถ้ามีอาการ Schneider’s first rank symptom เช่น ผู้ป่วยคิดว่าคนอื่นได้ยินความคิดของตน จะช่วยสนับสนุนการวินิจฉัยโรค
-
-
-
การบำบัดรักษา
-
1.Psychotherapy, Individual, Group, Behavioral, Supportive, Family Therapy อาจเลือกใช้ตามความเหมาะสม
2.Milieu Therapy เน้นที่การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ลดภาวะเครียด พัฒนาความสามารถใน การปรับตัวรายบุคคล
3.การรักษาด้วยยา เช่น ยา Antipsychotic drugs, Antiparkinson agents อาจต้องเตรียมไว้เพื่อลด อาการ extra pyramidal side effect ของยา
-
-
อาการและอาการแสดง
- ความผิดปกติของการรับรู้ (Disorder of perception)
-
2.2 Visual hallucination อาการประสาทหลอนทางการมองเห็น ภาพหลอน เห็นภาพเป็นคนหรือสิ่งของ บางรายเห็นภาพคนจะมาทำร้าย
-
-
-
- ความผิดปกติด้านอารมณ์(Disorder of affect)
-
-
1.2 เนื้อหาความคิดผิดปกติ(Disorder of content) ความผิดปกติของการคิด โดยขาดการเชื่อมโยงกับสิ่งที่เป็นจริง และเหตุผล ผู้ป่วยจะมีความคิด เข้าหาตนเอง(autism) ไม่มองสิ่งแวดล้อม จนในที่สุดมีอาการหลงผิด (delusion) ซึ่งมีลักษณะอาการ (1) แปลกประหลาด (2) มีหลายๆเรื่อง (3) เรื่องราวไม่ต่อเนื่องกันฟังดูแล้วเหลือเชื่อ และไม่มีเหตุผลที่จะเป็นไปได้
1.1 รูปแบบความคิดผดิปกติ(Disorder of form) ผู้ป่วยโรคจิตเภทจะมีปัญหาในด้านการคิด ขาดการเชื่อมโยงเหตุผล ไม่สามารถลำดับความคิดตามขั้นตอนของเหตุการณ์ดังนั้น เวลารับฟังผู้ป่วยพูด หรือตอบคำถาม จึงไม่ค่อยเข้าใจ หรือฟังไม่รู้เรื่อง
-
- ความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว(Disorder of motor behavior)
มักพบในผู้ป่วยที่เป็นรุนแรงและเรื้อรัง หรือเฉียบพลัน อาการที่พบบ่อย คือ Steriotypy เป็นการกระทำซ้ำๆเกิดขึ้นเองเรื่อยๆและสม่ำเสมอ เช่น นั่งโยกตัวตลอดเวลา Catalepsy ผู้ป่วยอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ Waxy flexibility คล้าย Catalepsy ถ้าจับให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าใดท่าหนึ่ง ก็จะคงอยูในท่านั้นเป็น เวลานาน Stupor ผู้ป่วยไม่มีการเคลื่อนไหว Mutism ผู้ป่วยไม่พูดมักพบร่วมกบอาการ stupor เป็นต้น
-
-