Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความรู้พื้นฐาน เกี่ยวกับการวิจัย :pencil2: - Coggle Diagram
ความรู้พื้นฐาน
เกี่ยวกับการวิจัย :pencil2:
คุณสมบัติของนักวิจัย :silhouette:
ด้านความสามารถหรือทักษะพิสัย
ต้องมีความสามารถหรือทักษะในการปฏิบัติตามระเบียบวิธีวิจัย
ด้านเจตคติหรือจิตพิสัย
มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ทำงานอย่างเป็นระบบ
มีความอยากรู้อยากเห็นสิ่งใหม่ๆ
มีความซื่อสัตย์ต่อหลักวิชา
มีเจตคติในเชิงวิทยาศาสตร์
ด้านความรู้หรือพุทธิพิสัย
มีความรู้ในเรื่องหรือในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
กับเรื่องที่ทำการวิจัยพอสมควร
มีความรูปในระเบียบวิธีวิจัยหรือเทคนิค
การทำวิจัยเป็นอย่างดีในทุกขั้นตอน
มีความรู้ในเรื่องที่ทำการวิจัยหรือ
ในสาขาวิชาที่ทำการวิจัยเป็นอย่างดี
จุดมุ่งหมายของการวิจัย :black_flag:
เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่หรือเพื่อสร้างสรรค์ความรู้ใหม่
เพื่อตรวจสอบและพิสูจน์ทฤษฎีที่มีอยู่ว่ายังใช้ได้อยู่หรือไม่
เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์
ใช้ให้เป็นประโยชน์ในหลายๆด้าน
ใช้สำหรับปรับปรุงและพัฒนาสภาพการ สถานการณ์ที่เกิดขึ้นให้ดียิ่งขึ้น
ให้สำหรับควบคุมปัญหา สถานการณ์ที่อจเกิดขึ้นได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
ใช้สำหรับพยากรณ์หรือทำนายเหตุการณ์หรือแนวโน้มของปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
ใช้สำหรับแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างตรงจุด
ใช้สำหรับบรรยายสภาพของปัญหาหรือ
อธิบายสาเหตุของปัญหา
จรรยาบรรณของนักวิจัย
การมีจิตสำนึก
การมีจิตสำนึกในความปลอดภัยของการวิจัยและผลการวิจัย
การมีความซื่อสัตย์
ซื่อสัตย์ต่อตัวเลขข้อมูล
ซื่อสัตย์ในการวิเคราะห์
ซื่อสัตย์เชิงวิชาการ
การยอมรับในสิทธิส่วนบุคคลของผู้ให้ข้อมูล
การมีความเชื่อในหลักวิทยาศาสตร์
ขั้นตอนของการทำวิจัย :star:
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การสรุปผลการวิจัย
การเลือกและกำหนดปัญหา
ประเภทของการวิจัย :pen:
การจำแนกประเภทตามจุดมุ่งหมายของการวิจัย
การวิจัยประยุกต์
การวิจัยพื้นฐานหรือวิจัยบริสุทธิ์
การจำแนกประเภทตามระเบียบวิธีวิจัย
การวิจัยเชิงบรรยายหรือพรรณา
การวิจัยทดลอง
การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์
จำแนกประเภทตามลักษณะของข้อมูล
การวิจัยเชิงคุณภาพหรือการวิจัยเชิงคุณลักษณะ
ศึกษาปรากฎการณ์ในสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ
คำนึงถึงความเป็นมนุษย์ของผู้ถูกวิจัย
เป็นการศึกษาติดตามระยะยาวเจาะลึก
เน้นปัจจัยหรือตัวแปรด้านความรูกสึกนึกคิด จิตใจ ความหมาย
เน้นการมองปรากฎการณ์ให้เห็นภาพรวม
การวิจัยเชิงปริมาณ
ความแตกต่างของวัตถุประสงค์
ความแตกต่างในการเก็บข้อมูล
ความแตกต่างของข้อมูล
ความแตกต่างในการวิเคราะห์ข้อมูล
ประโยชน์ของการวิจัย :red_flag:
ประโยชน์ต่อส่วนรวม
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาการ
ทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ
ช่วยให้สามารถนำความรู้ไปใช้ในการอธิบาย
ปรากฎการณ์ พยากรณ์แนวโน้ม
ช่วยให้สังคมได้รับความรู้ใหม่ๆ
ควบคุมสถานการณ์ปัญหา แก้ปัญหา
และพัฒนาปรับปรุงสิ่งแวดล้อม
ความเป็นอยู่ในสังคมให้ดีขึ้น
ประโยชน์ต่อนักวิจัย
ช่วยให้เป็นคนใฝ่หาความรู้อยู่เสมอ
ช่วยให้เป็นคนมีเหตุผลและทำงานอย่างเป็นระบบ
ช่วยให้นักวิจัยได้รับความรู้ใหม่ที่กว้างขวาง
ช่วยให้มีความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน
ด้านวิชาการ
ความหมายของการวิจัย :pen:
การวิจัย หมายถึง กระบวนการเสาะแสวงหาความรู้
ที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
เพื่อให้ได้ความรู้ใหม่และเพื่อนำความรู้นั้น
ไปประยุกต์ใช้ให้เป็นประโยชน์
พัฒนาการของการแสวงหาความรู้ :fountain_pen:
การแสวงหาความรู้ด้วยระบบเหตุผล
วิธีอุปมานหรืออุปนัย
ผู้ริเริ่มคิด เซอร์ฟรานซิส เบคอน
ตัวอย่าง
รวบรวมข้อมูล : เสือกินเนื้อเป็นอาหาร สิงโตกินเนื้อเป็นอาหาร
วิเคราะห์/สังเคราะห์ : เสือ สิงโต ที่เป็นสัตว์กินเนื้อเป็นอาหาร
มี 4 ขา
สรุป : สัตว์ 4 ขากินเนื้อเป็นอาหาร
วิธีการอุปมาน
นำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์
สรุปเป็นข้อเท็จจริงใหญ่หรือความรู้ใหม่
เก็บรวบรวมข้อมูลหรือข้อเท็จจริงย่อยๆ
วิธีอนุมาน-อุปมาน
ผู้ริเริ่มคิด ชาร์ลส์ ดาร์วิน
ตัวอย่าง
ตั้งสมมติฐาน : ผู้ชายมีความสามารถในการแก้ปัญหา
ได้ดีกว่าผู้หญิง
รวบรวมข้อมูล : สังเกตจากสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
หลายๆประการเพื่อดูว่าผู้ชายหรือผู้หญิงมีความสามารถ
ในการแก้ปัญหาได้ดีกว่ากัน
สรุป : ลงสุปตามที่ได้จากการสังเกตได้
การแสวงหาความรู้
ใช้วิธีอุปมานในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์/สังเคราะห์
และยืนยันหรือคัดค้านสมมติฐาน
สรุปเป็นความรู้ใหม่
ใช้วิธีอนุมานในการตั้งสมมติฐาน
วิธีอนุมานหรือนิรนัย
ผู้ริเริ่มคิดและวิธีใช้การนี้คือ อริสโตเติล
ตัวอย่าง
Major Premise : ทุกคนต้องตาย
Minor Premise : หญิงเป็นคน
Conclusion : หญิงต้องตาย
องค์ประกอบของการคิด
Minor Premise คือ ข้อเท็จจริงย่อย
Conclusion คือ ข้อสรุป
Major Premise คือ ข้อเท็จจริงหลัก
การแสวงหาความรู้ด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นเก็บรวบรวมข้อมูล : เก็บรวบรวมข้อมูล เช่น เอาน้ำในแม่น้ำไปวิเคราะห์หรือ
ตรวจสอบโดยวิธีการทางเคมีว่ามี อะไรเจือปนอยู่บ้าง เช่น พบว่า น้ำเน่า
ขั้นวิเคราะห์และตีความข้อมูล : ปลาตายเพราะน้ำเน่าโดยทำการตรวจสอบผล
โดยตักน้ำจากในแม่น้ำนั้นเอามาลองเลี้ยงปลาชนิดเดียวกันนั้น แล้วปรากฏว่า
ปลาตายจริงเพื่อเป็นการยืนยันผลที่ได้
ขั้นสมมติฐาน :
1.ปลาตายเนื่องจากอันตรายภายนอก
2.ปลาตายเนื่องจากอากาศ
3.ปลาตายจากโรคติดต่อ
4.ปลาตายเพราะน้ำเน่า
ขั้นระบุปัญหาหรือกำหนดปัญหา : สาเหตุการตายของปลา
ขั้นสรุป : ปลาตายเนื่งจากน้ำเน่า
การแสวงหาความรู้อย่างไม่มีระบบแบบแผน
การได้รับความรู้จากผู้รู้
ตัวอย่าง
พระหรือนักบวชเป็นผู้รู้ทางศาสนา
ครูเป็นผู้รู้ด้านการสอนหนังสือ
การได้รับความรู้จากผู้เชี่ยวชาญหรือนักปราชญ์
ตัวอย่าง
อริสโตเติล เป็นนักปราชญ์ที่มีชื่อเสียง
ความรู้ทีี่ได้รับถือเป็นความรู้ทีี่น่าเชื่อถือ
การได้รับความรู้โดยการลองผิดลองถูก
ตัวอย่าง
กาปั้นหม้อ อาจมีการลองผสมดินสำหรับการปั้นด้วยการใช้วัสดุ
และสัดส่วนที่แตกต่างกันไปเรื่อยๆ จนกระทั่งได้หม้อที่สวยงามทนทาน
การได้รับความรู้จากประเพณีและวัฒนธรรม
ตัวอย่าง
การไหว้เจ้าป่าเจ้าเขา
วัฒนธรรมการแต่งกายไปร่วมงานศพ
การได้รับความรู้โดยบังเอิญ
ตัวอย่าง
การลองกินเห็ดที่ออกในป่าทำให้ได้รู้ว่าเห็ดชนิดนี้กินได้หรือไม่ได้
การได้รับความรู้จากประสบการณ์ของตนเอง
ตัวอย่าง
บางคนเห็นว่าแมวเป็นสัตว์ที่น่ารัก แต่บางคนเห็นว่าแมวเป็นสัตว์ที่น่ากลัว