Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
นวัฒกรรมการยกระดับคุณภาพชีวิตด้วย …
นวัฒกรรมการยกระดับคุณภาพชีวิตด้วย
เทคโนโลยีดิจิทัล
(เซ็นเตอร์เปิด-ปิดไฟฟ้าอัตโนมัติ )
ปัญหา
เสื่อมสภาพเมื่อเจอแสงแดดมาก
หากเซ็นเซอร์เสียหายอาจทำให้หลอดไฟไม่สามารถใช้งานได้
มีราคาและค่าติดตั้งสูงกว่าหลอดไฟแบบเปิด-ปิดเอง
หากติดตั้งผิดวิธีอาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อตัวเองและวงจรไฟฟ้า
กลุ่มเป้าหมาย
บริษัทหรือสำนักงาน
โรงเรียนและมหาวิทยาลัย
พลเรือนทั่วไป
ประโยชน์ของนวัฒกรรม
ประหยัดค่าไฟมากขึ้น
ช่วยประหยัดเวลาในการเดินไปเปิด-ปิดไฟ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เป็นตัวอย่างในการพัฒนาหรือต่อยอดในอนาคต
บุคคลใดที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเปิดปิดไฟทิ้งไว้สามารถแก้ไขปัญหาได้
ผู้เข้าชมได้รับข่าวสารจากนวัฒกรรมการพัฒนาเทคโนโลยีอยู่เสมอ
สามารถประยุกต์ใช้ได้หลายสถานที่
ป้องกันอุบัติเหตุ เตะโต๊ะ หรือสะดุดหกล้ม เมื่อตื่นกลางคืน
การดำเนินงาน
ศึกษาข้อมูลของตัวเซ็นเซอร์เปิด-ปิดไฟอัตโนมัติ
ทำความเข้าใจในการใช้งานและคำนึงถึงความปลอดภัย
เลือกเซ็นเซอร์และหลอดไฟมาทำการทำลองและใช้งาน
ทดสอบคุณภาพตัวเซ็นเซอร์และหลอดไฟ
สมาชิกในกลุ่ม
63311592 นายทัดษพร อิทร์แปลง คณะวิทยาศาสตร์
63364703 นางสาวภัคริกา คงแสง วิศวอุตสาหการ
63363188 นางสาวนิศรา ศรีสวาท วิศวกรรมโยธา
63363621 นางสาวปกิตตา เกตุทิพย์ วิศวกรรมโยธา
63366486 นางสาวสศิมา อยู่คล้าย วิศวกรรมโยธา
63164860 นายพงศกรณ์ ชนะดี เกษตรศาสตร์
63161630 นายธนากร บุญเอี่ยม เกษตรศาสตร์
63362914 นายธีรภัทร เสิบกลิ่น วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
63164631 นายเอกณัฐ กุลทองคำ เกษตรศาสตร์
63163153 นายรัฐศาสตร์ พงษ์นราทิพย์ เกษตรศาสตร์