Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สายหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Beta hemolytic streptococcus group A และ…
สายหตุ
ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Beta hemolytic streptococcus group A และ Haemophilus influenza และเชื้อ Staphylococcus aureus มีการอักเสบเรื้อรังมักเกิดตามหลังการอักเสบติดเชื้อของอวัยวะข้างเคียง เช่น ไซนัสอักเสบ ฟันผุ หรือเกิดตามหลังการอักเสบเฉียบพลันของต่อมทอนซิลที่ได้รับการรักษาไม่เหมาะสม
การวินิจฉัยโรค
-
วินิจฉัยเบื้องต้น
ใช้ไฟฉายส่องดูบริเวณลำคอ อาจดูบริเวณหู และจมูกร่วมด้วย เนื่องจากเป็นบริเวณที่แสดงอาการติดเชื้อได้เช่นกัน
-
-
-
ข้อห้ามในการผ่าตัดทอนซิล
- กำลังมีการอักเสบของต่อมทอนซิล และการติดเชื้อของ ทางเดินหายใจหรืออวัยวะอื่น ๆ เช่น วัณโรคระยะติดต่อ
- เป็นโรคเลือด เช่น leukemia, haemophilia, aplastic
-
- เด็กเล็กอายุน้อยกว่า 5 ขวบ ยกเว้นรายที่จำเป็น
- ผู้ป่วยที่มีฮีโมโกลบินต่ากว่า 10 mg% หรือฮีมาโตคริตต่ำกว่า 30 mg%
พยาธิสภาพ
พยาธิสรีรภาพ
ต่อมทอนซิลเป็นเนื้อเยื่อน้ำเหลือง (lymphoid tissue) ที่อยู่ในช่องคอ ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 4 กลุ่มคือ palatine tonsil หรือต่อมทอนซิล lingual tonsil เป็นต่อมทอนซิลตรงโคนลิ้น pharyngeal tonsil หรือ adenoid และ lateral pharyngeal band เป็นต่อมทอนซิลที่อยู่ตรงผนังคอด้านหลังรวมเรียกว่า Waldeyer's ring เป็นด่านแรกของร่างกายที่ ทำหน้าที่ป้องกันเชื้อโรค palatine tonsil เป็นเนื้อเยื่อน้ำเหลืองที่อยู่ด้านข้างของช่องคอการถ่ายเทน้ำเหลืองจะไหลไปสู่ upper deep cervical lymph node และไปสู่วัน gulodigastic node ฉะนั้นเมื่อมีการอักเสบของต่อมทอนซิล จึงทำให้ต่อมน้ำเหลือง Jugalodigastic อักเสบ มีอาการบวมและกดเจ็บด้วยนอกจากนี้ต่อมทอนซิลจะมีแขนงของเส้นประสาทสมองที่ 9 (glossopharyngeal nerve) มาเลี้ยงซึ่งแขนงของเส้นประสาทนี้ไปเลี้ยงหูด้วย เมื่อมีการอักเสบของต่อมทอนซิลจึงมีอาการปวดร้าวไปที่หูได้
-
การรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการตัดต่อมทอนซิลการตัดต่อมทอนซิล (tonsileatomy) เป็นการผ่าตัดเอา palaune tonsil ออกไปซึ่งมีการทำผ่าตัดทั้งในผู้ใหญ่และเด็กการทำผ่าตัดต่อมทอนซิลในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่ใช้ยาชาเฉพาะที่ยกเว้นผู้ป่วยเด็กและผู้ใหญ่บางรายที่ต้องใช้ยาสลบภายหลังผ่าตัดผู้ป่วยจะพักอยู่ในโรงพยาบาลเพียง 1-2 วันเท่านั้
-
การพยาบาลผู้ป่วยที่ทำการผ่าตัดผู้ป่วยที่ได้รับค่าแนะนำให้ผ่าตัดบางรายสามารถตัดสินใจรับการผ่าตัดได้เพราะมีความรู้เรื่องการผ่าตัดมาก่อนเช่นรู้จากเพื่อนจากเจ้าหน้าที่ทีมสุขภาพอ่านจากหนังสือเป็นต้น แต่ผู้ป่วยบางรายจะกลัวการผ่าตัดกลัวเจ็บกลัวเสียงแหบกลัวมีแผลเป็นบริเวณคอกลัวเสียเงินมากจึงไม่ยอมเข้ารับการผ่าตัดตามนัดหรือยอมรับการผ่าตัด แต่ยังมีความกลัวมากหลังผ่าตัดผู้ป่วยแต่ละคนอาจมีปัญหาแตกต่างกันปัญหาที่พบในผู้ป่วยทุกรายคือปวดแผลอย่างไรก็ตามพยาบาลจะต้องป้องกันปัญหาอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นตามมาด้วย
การพยาบาล
- กลัววิตกกังวลเนื่องจากขาดความรู้เรื่องการผ่าตัด
-
- เสี่ยงต่อการเกิดทางเดินหายใจไม่โล่งเนื่องจากสำลักเศษอาหารเลือตและสิ่งคัดหลั่ง
- เสี่ยงต่อการเสียเลือดเนื่องจากมีแผลเปิดในคอ.
- เสี่ยงต่อการขาดน้ำและอาหารเนื่องจากดื่มน้ำและรับประทานอาหารได้น้อย
- เสี่ยงต่อการติดเชื้อเนื่องจากแผลเปิดในคอ
- การดูแลตนเองที่บ้านไม่ถูกต้องเนื่องจากขาดความรู้
-