Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 8 แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒน…
หน่วยที่ 8 แนวคิดสร้างสรรค์ในการบริหารและการสื่อสารเพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
แนวคิดเกี่ยวกับความคิดสร้างสรรค์
ความหมาย องค์ประกอบ และลักษณะความคิดสร้างสรรค์
ความหมาย
การขยายขอบเขตความคิดออกไปจากกรอบความคิดเดิมที่มีอยู่ สู่ความคิดใหม่ๆ ที่ไม่เคยมีมาก่อน เพื่อค้นหาคำตอบที่ดีที่สุดให้กับปัญหาที่เกิดขึ้น
องค์ประกอบ
ความคิดริเริ่ม
ความคิดคล่องตัว หรือความพรั่งพรูในการคิด
ความยืดหยุ่นในการคิด
ความคิดละเอียดลออ
ลักษณะของความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะทางผลิตผล
ลักษณะทางกระบวนการ
ลักษณะของบุคคล
การพัฒนาความคิดสร้างสรรค์
ลักษณะพื้นฐานของผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์
ความรู้สึกไวต่อปัญหา
ความคล่องในการคิด
ความคิดริเริ่ม
ความยืดหนุ่นในการคิด
แรงจูงใจ
อุปสรรคของความคิดสร้างสรรค์
อุปสรรคเชิงรับรู้
อุปสรรคเชิงอารมณ์
อุปสรรคเชิงวัฒนธรรม
ทักษะในการคิดสร้างสรรค์
การคิดคล่องและการคิดหลากหลาย
การคิดวิเคราะห์และคิดผสมผสาน
การคิดริเริ่ม
การคิดละเอียดชัดเจน
การคิดอย่างมีเหตุผล
การคิดกว้างและรอบคอบ
การคิดไกล
การคิดลึกซึ้ง
การคิดดี คิดถูกทาง
องค์ประกอบในการพัฒนาการคิดสร้างสรรค์
การอยู่คนเดียวตามลำพัง
การอยู่เฉย
การฝันกลางวัน
การระลึกถึงความขัดแย้งในอดีคที่ก่อให้เกิดการบาดเจ็บทางจิตใจ
ความเชื่ออะไรง่าย
ความตื่นตัว และระเบียบวินัย
กระบวนการพัฒนาการคิดสร้างสรรค์
ความคิดของมนุษย์
กระบวนการของการคิดสร้างสรรค์
เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค๋
การบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
ความสำคัญของความคิดสร้างสรรค์
ความสำคัญด้านสังคมเกษตรกรรม
เป็นสิ่งสำคัญในการช่วยแก้ไขปัญหาให้แก่เกษตรกร
ทำให้เกิดนวัตกรรมทางการเกษตร
ทำให้เกษตรกรเป้าหมายเกิดการเปลี่ยนแปลงในแนวทางการทำการเกษตรแบบใหม่ๆ
สังคมเกษตรกรรมมีความก้าวหน้า ทันสมัย มั่นคง
ความสำคัญด้านนักบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ช่วยในการพัฒนาตนเอง
ทำให้ชีวิตไม่ซ้ำซากจำเจไร้เป้าหมาย
สร้างความเชื่อมั่น
ยกระดับความสามารถของตนเองและก้าวหน้าในอาชีพการงาน
การบริหารองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
การบริหารองค์กรส่งเสริมการเกษตรให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
องค์กรมีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
องค์กรมีการทดลองปฏิบัติ
องค์กรมีการเรียนรู้จากบทเรียนในอดีต
องค์กรมีการเรียนรู้จากผู้อื่น
องค์กรมีการถ่ายทอดความรู้
อุปสรรคในการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้
สมาชิกในองค์การรู้แต่หน้าที่ของตนเองแต่ไม่รู้เป้าหมายขององค์กร
สมาชิกรู้ว่าปัญหาขององค์การคืออะไร แต่ไม่รู้ว่าตนมีส่วนเกี่ยวข้องอย่างไร
ทำตามแบบที่เคยทำ เห็นแต่ภาพลวงตา ไม่ได้แก้ปัญหาที่สาเหตุที่แท้จริง
ยึดติดกับเหตุการณ์มากเกินไป
ความเข้าใจผิดว่าการเรียนรู้มาจากประสบการณ์เท่านั้นแต่ไม่เข้าใจในความแตกต่างของอดีตกับปัจจุบัน
มีผู้บริหารที่ดีแต่ไม่สืบทอดความรู้ให้ผู้บริหารรุ่นต่อไป
ขาดสติไม่รู้ตัวกับความเปลี่ยนแปลงที่ค่อยเป็นค่อยไป
การบรริหารองค์กรส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เป็นองค์กรแห่งความสุข
Happy Body
Happy Heart
Happy Relax
Happy Brain
Happy Soul
Happy Money
Happy Family
Happy Society
การแก้ปัญหาและการสร้างบรรยากาศการทำงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรอย่างสร้างสรรค์
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
การเข้าถึงปัญหา
การคิดวิธีการแก้ปัญหา
การเลือกและการเตรียมการ
การวางแผนการแก้ปัญหา
การลงมือปฏิบัติ
การสร้างบรรยากาศ
สื่อสารอย่างชัดเจน
สร้างความมั่นใจในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
ขจัดอุปสรรคในการทำงาน
เลือกคนให้เหมาะสมกับงาน
ติดตามและพัฒนาบรรยากาศในการทำงาน
มุ่งเน้นถึงผลตอบแทนที่ไม่ได้อยู่แค่ในรูปของเงินเท่านั้น
สร้างความรู้สึกปลอดภัย
สร้างความต่อเนื่องในกิจกรรม
เปิดโอกาสให้สมาชิกในองค์กรได้สำรวจ ค้นคว้า เรียนรู้
ผู้บริหารควรส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรม
สร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย
ยอมรับ ให้เกียรติ และให้ความสำคัญแก่ผู้เสนอความคิดสร้างสรรค์
สร้างเครือข่ายชุมชนนักคิดสร้างสรรค์
ส่งเสริมและเผยแพร่เทคนิคในการเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์
การนำความคิดสร้างสรรค์มาใช้
องค์ประกอบของการสื่อสาร
ผู้ส่งสาร
เนื้อหาสาร
สื่อหรือช่องทางการสื่อสาร
ผู้รับสาร
การสื่อสารเป้าหมาย
เป้าหมายการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
เป้าหมายระยะสั้น
เป้าหมายรายอาทิตย์-รายเดือน
เป้าหมายระยะยาว
การสื่อสารเพื่อให้บรรลุเป้าหมาย
ข้อความที่สื่อต้องง่ายแต่มีความหมายลึกซึ้ง
การสื่อสารที่ดีจึงควรสื่อด้วยข้อความที่เข้าใจง่าย
ความเร้าใจของเป้าหมาย
แนวทางในการบรรลุเป้าหมาย
ลงทุนเพื่อไปให้ถึงเป้าหมาย
การสร้างสรรค์เพื่อการสื่อสาร
การเลือกสื่อ
สื่อบุคคล
สื่อกิจกรรม
สื่อวิทยุโทรทัศน์
สื่อวิทยุกระจายเสียง
สื่อสิ่งพิมพ์
สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
สื่อสังคม
การสร้างสรรค์สื่อ
เป้าหมายในการบริหารงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย
การสำรวจปัญหาและ/หรือความต้องการของกลุุ่มเป้าหมาย
การเตรียมเนื้อหาและข่าวสาร
การกำหนดเป้าหมายและจุดมุ่งหมาย
การเลือกและการนำเสนอสื่อ
ดำเนินการผลิตสื่อ
การทดลองใช้สื่อกับกลุ่มเป้าหมาย
การปรับปรุงสื่อที่พัฒนาขึ้น
การเผยแพร่สื่อ
การใช้สื่อ
การนำสื่อไปใช้ตามลักษณะกลุ่มเป้าหมาย
การนำสื่อไปใช้เพื่อการเผยแพร่สารสนเทศ