Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
มภร.10/2 เตียง B-5 Dx.Febrile Neutropenia ภาวะที่มีปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิ…
มภร.10/2 เตียง B-5
Dx.Febrile Neutropenia
ภาวะที่มีปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิด neutrophil ต่ำ
ข้อมูลผู้ป่วย
General Appearance
13/12/63
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 59 ปี รู้สึกตัว E4M6V5 หายใจ on Nasal cannula 3 LPM ทางจมูก รูปร่างผอม ผิวสองสี ผมสั้นสีดำแซมขาว มีเส้นฟอกเลือดที่แขนซ้ายชนิดเส้นเลือดจริง (AVF) มีจ้ำเลือดบริเวณต้นแขนทั้งสองข้าง On injection plug ที่บริเวณหลังมือข้างขวา ไม่มีบวมแดง มีแผลบริเวณนิ้วโป้ง ชี้ กลาง แผลแห้ง ไม่มี discharge ซึม
14/12/63
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 59 ปี รู้สึกตัว E4M6V5 หายใจ on Nasal cannula 3 LPM ทางจมูก มีอาการอ่อนเพลีย อัตราการหายใจ 20 ครั้ง/นาที รูปร่างผอม ผิวสองสี ผมสั้นสีดำแซมขาว มีเส้นฟอกเลือดที่แขนซ้ายชนิดเส้นเลือดจริง (AVF) มีจ้ำเลือดบริเวณต้นแขนทั้งสองข้าง On injection plug ที่บริเวณหลังมือข้างขวา ไม่มีบวมแดง มีแผลบริเวณนิ้วโป้ง ชี้ กลาง แผลแห้ง ไม่มี discharge ซึม
15/12/63
ผู้ป่วยหญิงไทย อายุ 60 ปี ซึมลง ไม่มีสับสน หายใจ on Nasal cannula 3 LPM ทางจมูก มีอาการอ่อนเพลีย ไม่มีไข้ รูปร่างผอม มีจ้ำเลือดบริเวณต้นแขนทั้งสองข้างรับประทานอาหารได้น้อย มีแผลบริเวณนิ้้วโป้ง ชี้ กลาง มี discharge ซึมเล็กน้อย แผลแห้ง
อาการแรกรับ
ผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ หายใจ on Nasal cannula 3 LPM ทางจมูก มีอาการอ่อนเพลีย มีจ้ำบริเวณต้นแขนทั้งสองข้าง On injection plug ที่หลังมือขวา ไม่มีบวมแดง
อาการสำคัญ
เจ็บแน่นหน้าอก 6 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
6 วันก่อนมาโรงพยาบาล(4/12/63) ผู้ป่วยทำเคมีบำบัดที่โรงพยาบาลตำรวจ มีภาวะแทรกซ้อนคือหัวใจหยุดเต้น 5 วินาที แพทย์ทำ CPR นอนพักรักษาตัวที่ CCU 1 คืน แพทย์ให้กลับบ้านได้
4 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยเมื่อยตัว ปวดตื้อๆแน่นกลางอกร้าวไปที่หลังทั่วตัว หนาวสั่น ไม่มีไข้ ถ่ายเหลง 3-4 ครั้งไม่มีมูกเลือด คลื่นไส้ อาเจียน 1 ครั้ง เหนื่อยอ่อนเพลีย
2 วันก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยมีอาการแน่นหน้าอก เจ็บตื้อๆตรงกลางอกร้าวไปที่หลัง นอนราบได้ นอนพักอาการทุเลา
6 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเจ็บแน่นหน้าอก เจ็บตรงกลางหน้าอกร้าวไปหลัง มีคลื่นไส้แต่ไม่อาเจียนมีถ่ายเหลว 4 ครั้ง ญาติจึงพามาโรงพยาบาล
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
Diabetes Mellitus : DM โรคเบาหวาน
CA Breast stage III : มะเร็งเต้านมระยะที่ 3
End stage renal disease : ESRD ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย
Coronary artery disease, CAD โรคหลอดเลือดแดงโคโรนารี
ประวัติการผ่าตัด : ผ่าตัดไส้ติ่ง(Appendectomy)
เมื่อปี 2543
ยาและสารน้ำที่ได้รับ
ยา
Dobell Solution 180 ml. อมบ้วนปากและกลั้วคอ ข้อบ่งใช้ : ป้องกันการติดเชื้อในช่องปากและลำคอ
ผลข้างเคียง : ได้แก่ เป็นลมพิษ หายใจลำบาก หน้าบวม ริมฝีปากบวม ลิ้นบวม คอบวม มีผื่นคัน บวมแดง เกิดเม็ดพุพองตามผิวหนัง ผิวลอกพร้อมกับมีไข้หรือไม่มีไข้ รู้สึกแน่นหน้าอกหรือลำคอ หายใจเสียงดัง
XARATOR 10 MG.TAB. (ATORVASTATIN 10 MG TAB) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง ก่อนนอน หลีกเลี่ยงการทาน Grape friut Juice ข้อบ่งใช้ : ลดไขมันในเลือด ผลข้างเคียง : ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ คลื่นไส้ อ่อนเพลีย ท้องผูกหรือท้องเสีย
LOPERAMIDE HCL 2 MG.CAP. (LOPERAMIDE 2 MG.CAP.)รับประทานครั้งละ 1 เม็ด ทุก 4 ชั่วโมง เวลาท้องเสีย ข้อบ่งใช้ : เพื่อบรรเทาอาการท้องเสียแบบเฉียบพลันและเรื้อรัง ผลข้างเคียง : ปากแห้ง ง่วงนอน คลื่นไส้ อาเจียน รู้สึกไม่สบายท้อง ท้องอืด ท้องผูก เวียนศีรษะ อ่อนเพลีย
MOCYDONE M 10 MG.TAB. (DOMPERIDONE 10 MG.TAB.) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า กลางวัน เย็น ข้อบ่งใช้ : ใช้สำหรับบรรเทาอาการคลื่นไส้หรืออาเจียน มีอาการแน่นท้อง ท้องอืด เรอ คลื่นไส้ แสบร้อนกลางอก และปวดท้อง โดยยานี้จะไปช่วยเพิ่มการหดตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ ผลข้างเคียง : อาการบวมที่มือ เท้า ข้อเท้า ลำคอ ริมฝีปาก หรือใบหน้า มีผื่น อาการคัน หรือลมพิษขึ้นตามผิวหนัง มีปัญหาเกี่ยวกับการหายใจ
FOLIC ACID 5 MG.TAB. (FOLIC ACID 5 MG.TAB.) รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า ข้อบ่งใช้ : กรดโฟลิคช่วยร่างกายในการสร้างเม็ดเลือดแดง โดยที่จะไปช่วยไขกระดูก ( BONE MARROW ) ให้ผลิตเม็ดเลือดแดง ผลข้างเคียง: ผื่นคัน
B-ASPIRIN EC 81 MG.TAB. ASPIRIN 81 MG.TAB. รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า ข้อบ่งใช่ : เป็นยาที่ใช้บรรเทาอาการปวด ลดไข้ ลดการอักเสบ ผลข้างเคียง : ปวดศีรษะ ง่วงซึม ระคายเคืองกระเพาะอาหาร เป็นต้น ควรหยุดใช้ยา และรีบไปพบแพทย์โดยด่วน
OMEPRAZOLE CAPSULES 20 MG.(GPO) OMEPRAZOLE 20 MG.CAP. รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 เม็ด ก่อนอาหารเช้า ข้อบ่งใช้ : ยาลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร ใช้รักษาอาการกรดไหลย้อนหรือโรคที่มีกรดในกระเพาะอาหารมากเกินไป รักษาโรคหลอดอาหารอักเสบจากกรดในกระเพาะ ผลข้างเคียง : ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ปวดท้อง มีแก๊สในกระเพาะ
Augmentin (1g) 1/2 po at 18.00 น.(เริ่ม14/12/63)
ข้องบ่งใช้ : ยาสูตรผสมระหว่าง amoxicillin และ clavulonic acid ใช้ในการรักษาโรคติดเชื้อที่มีสาเหตุจากแบคทีเรีย ได้แก่ การติดเชื้อที่หู ปอด ไซนัส ผิวหนัง และทางเดินปัสสาวะ
ผลข้างเคียง: ท้องร่วงเป็นน้ำหรือมีเลือดปน ซีดหรือตัวเหลืองตาเหลืองคลื่นไส้ เลือดออกง่ายหรือมีจ้ำเลือด
ผื่นตามผิวหนัง ปวดกล้ามเนื้อ
Vancomycin 500 mg. po q 6 hr.
ข้อบ่งใช้ : เป็นยาปฏิชีวนะสำหรับรักษาโรคติดเชื้อรุนแรงจากเชื้อแบคทีเรียกลุ่มStaphylococcus Aureus
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ ท้องไส้ปั่นป่วน ปวดท้อง
IV
TAZOCIN 4.5 GM.INJ.(PIPERACILLIN+TAZOBACTAM (4+0.5)GM.) 2.25 g IV q 8 Hrs.x5 day
ข้อบ่งใช้ : รักษาการติดเชื้อแบบ moderate –severe ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียในระบบทางเดินหายใจ การติดเชื้อบริเวณกระดูกและข้อ การติดเชื้อภายในช่องท้องและการติดเชื้อในกระแสเลือด ผลข้างเคียง : การอักเสบของปากและริมฝีปาก คลื่นไส้ อาการคัน ผื่นคัน อาหารไม่ย่อย อาเจียน ความดันโลหิตต่ำ
Hyoscine Butylbromide(ฺBuscopan) 1 amp. IV drip
ข้องบ่งใช้ : เป็นยาในกลุ่มยาบรรเทาอาการปวดเกร็งในช่องท้อง
ผลข้างเคียง : หน้าแดง เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ ปากแห้ง คอแห้ง กลืนลำบาก คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด ท้องผูก ง่วงซึม อ่อนล้า สั่น อ่อนเพลีย
Metronidazole 500 mg. IV q 8 hr.
ข้อบ่งใช้ : เป็นยาปฏิชีวนะ ที่จะออกฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียในร่างกาย ซึ่งจะใช้ในการรักษาโรคจากการติดเชื้อแบคทีเรียได้หลากหลายชนิด
ผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน ไม่อยากอาหาร ปวดท้อง ไม่สบายท้อง ท้องผูก ท้องเสีย ปวดหัว เวียนหัว เดินเซ มีอาการไอ จาม หรือมีน้ำมูก ปากแห้ง ลิ้นบวม เจ็บลิ้น
Imipenem 500 MG.IV drip q 12 hr.rate 20 ml/hr.
ข้อบ่งใช้ : เป็นยาต้านแบคทีเรีย
ผลข้างเคียง : อาเจียน ความดันโลหิตต่ำ สับสน ผื่นคัน ง่วงนอน เวียนศีรษะ
. Levophed(4:250) IV drip 20 ml/hr.
ยากระตุ้นการหดตัวของหลอดเลือด มีฤทธิ์ช่วยหดหลอดเลือด เพิ่มความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด
ผลข้างเคียง : ลมพิษ ชา อ่อนแรง รู้สึกเย็นตามร่างกายอย่างเฉียบพลัน
NEUTROMAX 300 MCG.INJ. FILGRAMAX 300 MCG.INJ 300 mcg SC OD ข้อบ่งใช้ : กระตุ้นการสร้างเม็ดเลือดขาว ป้องกันและรักษาภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำในผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ผลข้างเคียง : ปวดกระดูก คลื่นไส้ ปวดศีรษะ ปวดบริเวณที่ฉีดยา
METOCLOPRAMIDE 10 MG/2ML.INJ.( METOCLOPRAMIDE ) 5 mg IV prn q 8 hr. for N/V
ข้อบ่งใช้ : ยาบำบัดอาการคลื่นไส้อาเจียน ช่วยเพิ่มการบีบตัวของกระเพาะอาหารและลำไส้ ซึ่งจะช่วยให้อาหารที่ตกค้างอยู่ในกระเพาะเคลื่อนไปสู่ลำไส้ได้เร็วยิ่งขึ้น ใช้รักษาอาการแสบร้อนกลางอกอันเกิดจากกรดไหลย้อน
ผลข้างเคียง : หายใจลำบาก หน้าบวม ริมฝีปากบวม ลิ้นบวม หรือคอบวม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล 1 : มีภาวะติดเชื้อในร่างกายเนื่องจากภูมิคุ้มกันลดลงจากการได้รับยาเคมีบำบัด
ข้อมูลสนับสนุน
Subjective Data : ผู้ป่วยบอกว่ามีอาการอ่อนเพลีย รับประทานอาหารได้น้อย
Objective Data : WBC 18.99 10^3/uL ค่าปกติ 4.24-10.18 10^6/uL สูงกว่าปกติ
Monocyte 2.0 % ค่าปกติ 3.3-10.2 % ต่ำกว่าปกติ
Eosinophil 0.0 % ค่าปกติ 0.4-7.2 % ต่ำกว่าปกติ
Basophil 0.0 % ค่าปกติ 0.1-1.2 % ต่ำกว่าปกติ
Neutrophil 94.0 % ค่าปกติ 48.1-71.2 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte 3.0 % ค่าปกติ 21.1-42.7 % ต่ำกว่าปกติ
ผู้ป่วยได้รับยาเคมีบำบัด
วัตถุประสงค์
ไม่มีภาวะติดเชื้อในร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงของภาวะติดเชื้อ เช่น มีไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก ท้องเสีย อ่อนเพลีย เป็นต้น
2.ผู้ป่วยไม่เกิดการติดเชื้อ
3.ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
WBC ค่าปกติ 4.24-10.18 10^6/uL
Lymphocyte ค่าปกติ 21.1-42.7 %
Monocyte ค่าปกติ 3.3-10.2 %
Eosinophil ค่าปกติ 0.4-7.2 %
Basophil ค่าปกติ 0.1-1.2 %
Neutrophil ค่าปกติ 48.1-71.2 %
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ประเมินสัญญาณชีพได้แก่ อุณหภูมิ อัตราการเต้นของหัวใจ อัตราการหายใจ ความดันโลหิตทุก 4ชั่วโมง และสังเกตอาการผิดปกติของการติดเชื้อในร่างกายเช่น มีอาการอักเสบ บวม แดงร้อน มีสารคัดหลั่งผิดปกติจากส่วนต่างๆของร่างกาย
2.ให้คําแนะนําผู้ป่วยในการรักษาความสะอาดร่างกายทั่วไป ปากฟัน และอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
3.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารสูตร liquid diet low salt low bacteria งดผักผลไม้สดเปลือกบาง และเพื่อช่วยในการ ฟื้นฟูสภาพของร่างกายและเสริมสร้างระบบภูมิต้านทาน
4.แนะนําผู้ป่วยให้หลีกเลี่ยงบุคคลเป็นโรคติดเชื้อ เพราะผู้ป่วยมีภูมิคุ้มกันร่างกายต่ำ มีโอกาสทําให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
5.ให้การพยาบาลผู้ป่วยแบบAseptic technique เช่นล้างมือให้สะอาดก่อนและ หลังให้การพยาบาลเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อทางการสัมผัสระหว่างบุคคล (cross infection)
6.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ Antibiotic ตามแผนการรักษา หากพบความผิดปกติควรรายงานแพทย์ทราบ
Imipenem 500 MG.IV drip q 12 hr.rate 20 ml/hr. Levophed(4:250) IV drip 20 ml/hr.
Metronidazole 100 ml
การประเมินผลวันที่ 14/12/ุ63
ผู้ป่วยไม่มีอาการและอาการแสดงติดเชื้อ เช่น ไข้ ไอ เจ็บคอ มีน้ำมูก ท้องเสีย
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลีย
การประเมินผลวันที่ 15/12/63
ผู้ป่วยมีอาการอ่อนเพลียซึมลง รับประทานอาหารได้น้อย มีถ่ายเหลวปนมูกเลือด
Problem list
1.ผู้ป่วยมีความดันโลหิตต่ำ
2.ถ่ายเป็นเลือด
3.ผู้ป่วยซึมลง มีอาการอ่อนเพลีย บ่นปวดขา และปวดทั้งตัว
มีแผล DM ที่เท้าข้างขวา
15/12/63
Hb 9.5 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hct 29.1 % ต่ำกว่าปกติ
RBC 3.86 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
MCV 76.1 fL ต่ำกว่าปกติ
MCH 24.7 pg ต่ำกว่าปกติ
RDW 17.4% สูงกว่าปกติ
WBC18.99 10^3/uL สูงกว่าปกติ
Neutrophil 94.0 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte 3.0% ต่ำกว่าปกติ
Monocyte 2.0% ต่ำกว่าปกติ
Eosinophil 0.0% ต่ำกว่าปกติ
Basophil 0.0% ต่ำกว่าปกติ
Albumin 2.2 g/dL ต่ำกว่าปกติ
CO2 20.4 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
Potassium K 3.22 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
CO2 20.4 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
13/1163
PT 13.6 s สูงกว่าปกติ
INR 1.19 สูงกว่าปกติ
Bun 53.3 mg/dL สูงกว่าปกติ
Creatinine 4.66 mg/dL สูงกว่าปกติ
Troponin – T 0.070 ng/mL สูงกว่าปกติ
4.เจ็บปาก มีแผลที่ช่องปาก
รับประทานอาหารได้น้อย
ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ
โลหิตวิทยา
Complete Blood Count13/12/63
Hb 8.3 g/dL ค่าปกติ 12.3-15.5 g/dL
ค่าต่ำกว่าปกติ
Hct 26.2 % ค่าปกติ 36.8-46.6 % ค่าต่ำกว่าปกติ
RBC 3.39 10^6/uL ค่าปกติ 3.96-5.29 10^6/uL ค่าต่ำกว่าปกติ
MCV 77.2 fL ค่าปกติ 79.9-97.6 fL ต่ำกว่าปกติ
MCH 24.5 pg ค่าปกติ 25.9-32.4 pg ต่ำกว่าปกติ
RDW 17.2 % ค่าปกติ 11.9-16.5 % สูงกว่าปกติ
WBC 15.33 10^3/uL ค่าปกติ 4.24-10.18 10^6/uL สูงกว่าปกติ
Neutrophil 88.0 % ค่าปกติ 48.1-71.2 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte 4.0 % ค่าปกติ 21.1-42.7 % ต่ำกว่าปกติ
Monocyte 1.0 % ค่าปกติ 3.3-10.2 % ต่ำกว่าปกติ
Eosinophil 0.0 % ค่าปกติ 0.4-7.2 % ต่ำกว่าปกติ
Basophil 0.0 % ค่าปกติ 0.1-1.2 % ต่ำกว่าปกติ
15/12/63
Hb 8.3 g/dL ค่าปกติ 12.3-15.5 g/dL ค่าต่ำกว่าปกติ
Hb 9.5 g/dL ค่าปกติ 12.3-15.5 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hct 29.1 % ค่าปกติ 36.8-46.6 % ค่าต่ำกว่าปกติ
RBC 3.83 10^6/uL ค่าปกติ 3.96-5.29 10^6/uL ค่าต่ำกว่าปกติ
MCV 76.1 fL ค่าปกติ 79.9-97.6 fL ต่ำกว่าปกติ
MCH 24.7 pg ค่าปกติ 25.9-32.4 pg ต่ำกว่าปกติ
RDW 17.4 % ค่าปกติ 11.9-16.5 % สูงกว่าปกติ
WBC 18.99 10^3/uL ค่าปกติ 4.24-10.18 10^6/uL สูงกว่าปกติ
Neutrophil 94.0 % ค่าปกติ 48.1-71.2 % สูงกว่าปกติ
Lymphocyte 3.0 % ค่าปกติ 21.1-42.7 % ต่ำกว่าปกติ
Monocyte 2.0 % ค่าปกติ 3.3-10.2 % ต่ำกว่าปกติ
Eosinophil 0.0 % ค่าปกติ 0.4-7.2 % ต่ำกว่าปกติ
Coagulation test10/12/63
PT 13.6 seconds ค่าปกติ 10.30-12.80 seconds สูงกว่าปกติ
INR 1.19 ค่าปกติ 0.88-1.11 สูงกว่าปกติ
เคมีคลินิก13/12/63
BUN 53.3 mg/dL ค่าปกติ 7.0-18.7 mg/dL สูงกว่าปกติ
Creatinine 4.66 mg/dL ค่าปกติ 0.55-1.02 mg/dL สูงกว่าปกติ
-Albumin 2.4 g/dL ค่าปกติ 3.5-5.2 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Phosphorus 2.1 mg/dL ค่าปกติ 2.3-4.7 mg/dL ต่ำกว่าปกติ
CO2 20.2 mmol/L ค่าปกติ 22-29 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
15/12/63
Potassium K 3.22 mmol/L ค่าปกติ 3.5-5.1 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
CO2 20.4 mmol/L ค่าปกติ 22-29 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
Albumin 2.2 g/dL ค่าปกติ 3.5-5.2 mmol/L ต่ำกว่าปกติ
จุลชีววิทยา11/12/63
Lactate(Lactic acid) 1.2 mmol/L ค่าปกติ 0.5-2.2 mmol/L
ภูมิคุ้มกันวิทยา10/12/63
Troponin-T 0.070 ng/mL ค่าปกติ 0-0.014 ng/mL สูงกว่าปกติ
Febrile neutropenia
คือ ภาวะที่ผู้ป่วยมีปริมาณเม็ดเลือดขาวชนิด neutrophil ต่ำ ระดับความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณ Absolute neutrophil count (ANC) < 500 / μL ซึ่งระดับ ANC มีความสัมพันธ์กับอัตราเสี่ยงของการติดเชื้อ ซึ่งสาเหตุชักนำของการเกิด neutropenia ได้แก่ 1. โรคที่มีความผิดปกติที่ไขกระตูก เช่น กระดูกฝ่อ มะเร็งเม็ดเลือดขาว 2. การใช้ยา เช่น ยาเคมีบำบัด ยากดภูมิคุ้มกัน 3. การฉายแสง เป็นต้น
ในกรณีผู้ป่วยมาจากสาเหตุการได้รับยาเคมีบำบัด จากที่ผู้ป่วยเป็นโรคมะเร็งเต้านม stage 3 และได้รับยาเคมีบำบัด ในการทำงานของยาเคมีบำบัด คือ จะออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็ง แต่ในขณะเดียวกันก็จะส่งผลต่อเซลล์ปกติในร่างกายโดยเฉพาะเซลล์ที่มีการแบ่งตัวเร็ว ผลข้างเคียงที่พบได้บ่อยจากยาเคมีบาบัด ได้แก่ กดการทำงานของไขกระดูก (Myelosupression) ทำให้การสร้างเม็ดเลือดต่างๆลดลง ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่นๆตามมา และอาการทางระบบทางเดินอาหาร: คลื่นไส้อาเจียน เยื่อบุช่องปากอักเสบ (Mucositis) ตับอักเสบ รวมถึง ผมร่วง
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
3.เสี่ยงต่อภาวะซีด เนื่องจากไขกระดูกถูกกกดการทำงานจากการได้รับยาเคมีบำบัด ส่งผลให้เม็ดเลือดแดงต่ำ
วัตถุประสงค์
ไม่เกิดอันตรายจากภาวะเลือดแทรกซ้อนจากการซีด
ข้อมูลสนุบสนุน
SD : -
OD : อ่อนเพลียง่าย ไม่มีแรง
Conjunctiva ซีด
Hemoglobin 9.5 g/dL ต่ำกว่าปกติ
Hematocrit 29.1 g/dL ต่ำกว่าปกติ
RBC 3.38 10^6/uL ต่ำกว่าปกติ
เกณฑ์การประเมินผล
ไม่มีอาการอ่อนเพลียหรือไม่มีแรง
ไม่มี Conjunctiva ซีด
Hemoglobin 12.8-16.1 g/dL
Hematocrit 38.2-48.3 %
RBC 4.03-5.55 10^6/uL
BP 90/60-130/80 mmHg.
O2 sat มากกว่าหรือเท่ากับ 95%
กิจกรรมการพยาบาล
1.วัดสัญญาณชีพทุก 4 ชั่วโมง
2.ประเมินสีของเยื่อบุตา ริมฝีปากพร้อมทั้งสังเกตอาการผิดปกติที่เกิดจากภาวะ ซีดเช่น หน้ามืด ใจสั่น เหนื่อยง่าย
3.แนะนําเรื่องการปรับเปลี่ยนท่าควรจะทําอย่างช้าๆ เพื่อป้องกันอุบัติเหตุหกล้ม ช่วยเหลือผู้ป่วยในการทํากิจกรรมต่างๆ
4.จัดให้ผู้ป่วยพักผ่อนอย่างเต็มที่ และช่วยเหลือกิจกรรมข้างเตียงเพื่อลดการใช้ออกซิเจนของร่างกาย
3.ดูแลให้ได้รับอาหารที่จำเป็นต่อการสร้างเม็ดเลือดแดง เช่น ธาตุเหล็ก โปรตีน วิตามินซี อาหารอ่อนย่อยง่าย
4.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับ
FOLIC ACID 5 MG.TAB. รับประทานครั้งละ 1 เม็ด วันละ 1 ครั้ง หลังอาหารเช้า ตามแผนการรักษาของแพทย์
5.ติดตามผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น Hb Hct RBC ตามแผนการรักษาของแพทย์
การประเมินผล14/11/63
ผู้ป่วยยังมีอาการอ่อนเพลีย อ่อนแรง
Conjunctiva ซีด
PR = 95 ครั้ง/นาที
RR = 20 ครั้ง/นาที
BP = 118/40 mmHg.
O2 sat 100%
4.มีภาวะเยื่อบุช่องปากอักเสบ เนื่องจากภาวะแทรกซ้อนจากการได้รับยาเคมีบำบัด
ข้อมูลสนับสนุน
SD : ผู้ป่วยบ่นเจ็บปาก และกระพุ้งแก้ม
OD : ผู้ป่วยรับประทานอาหารได้น้อยจากมีแผลในปาก
วัตถุประสงค์
เพื่อลดอาการเยื่อบุช่องปากอักเสบ
เกณฑ์การประเมินผล
1.ผู้ป่วยมีอาการเจ็บปากลดลง
2.ไม่มีแผลบริเวณปากหรือฝ้าขาว
3.สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
อุณหภูมิร่างกาย 36.5-37.4 องศาเซลเซียส
ชีพจร 60-90 ครั้ง/นาที
อัตราการหายใจ 12-22 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิต 90/60-130/80 มิลิเมตรปรอท
ค่า O2saturation ระหว่าง 95-100 %
กิจกรรมการพยาบาล
1.ประเมินช่องปากโดยสังเกตลักษณะของอาการติดเชื้อ ได้แก่ อาการบวมแดงมีสารคัดหลั่งไหลออกจากแผลในช่องปากหรือลักษณะจุดผ้าขาว
ประเมินอุณหภูมิร่างกายหากมีอุณหภูมิสูงกว่า 37.5 องศาเซลเซียส
3.ดูแลและการรักษาความสะอาดในช่องปากที่ถูกต้องเพื่อป้องกันการติดเชื้อในช่องปากดังนี้-อมบ้วนปากและกลั้วคอด้วยDobell solution เพื่อให้ช่องปากสะอาด
4.สังเกตช่องปากเพื่อเฝ้าระวังการติดเชื้อจากแผลในช่องปากหากพบอาการผิดปกติ ได้แก่ เพื่อดูบวมและมีสิ่งคัดหลังหรือผ้าขาวและเฝ้าระวังภาวะติดเชื้อในร่างกายเช่นมีใช้สูงหนาวสั้นโดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีภาวะภูมิคุ้มกันต่ำร่วมด้วยหากมีอาการให้แจ้งพยาบาลหรือแพทย์เจ้าของใช้ทันที
5.อธิบายให้ผู้ป่วยและครอบครัวเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญของการปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงของการติดเชื้อในช่องปากและร่างกาย
การประเมินผล14/12/63
ผู้ปวยบอกว่าอาการเจ็บแผลในปากลดลง รับประทานอาหารได้มากขึ้น
สัญญาณชีพอยู่ในเกณฑ์ปกติ
T = 37 องศาเซลเซียส
RR = 20 ครั้ง/นาที
BP = 118/40 mmHg.
Pulse = 95 ครั้ง/นาที
O2 sat 100%
1.เสี่ยงต่อภาวะช็อกเนื่องจากมีการติดเชื้อในร่างกาย
ข้อมูลสนับสนุน
OD : ผู้ป่วยซึมลง มีอ่อนเพลีย ไม่มีแรง ถ่ายเป็นเลือด เรอ BP = 88/50 mmHg.PR = 94 ครั้ง/นาที ชีพจรเต้นเบาเร็ว Hct = 29.1 g/dL
วัถตุประสงค์ : เพื่อให้ผู้ป่วยไม่มีภาวะช็อก
เกณฑ์การประเมินผล
1.สัญญาณชีพ ได้แก่ ชีพจร 12-22 ครั้ง/นาที
ความดันโลหิตมากกว่า 90/60 mmHg
การหายใจ 12-22 ครั้ง/นาที 2.
ระดับความรู้สึกตัวดี พูดคุยรู้เรื่อง ไม่สับสน
3.Hct 36.8-46.6 g/dL
กิจกรรมการพยาบาล
1.ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับสารน้ำทางหลอดเลือดดำ คือ 0.9% NSS 1000 ml IV 30 ml/hr.สังเกตอาการเปลี่ยนแปลงระหว่างได้รับสารน้ำ
2.ประเมินและวัดสัญญาณชีพทุก15-30นาที จนกระทั่งผู้ป่วยมีสภาพที่คงที่ ถ้าพบความผิดปกติรายงานแพทย์ทราบทันที
3.สังเกตและประเมินอาการ และอาการแสดงของภาวะช็อก ถ่ายเป็นเลือด ระดับความรู้สึกตัว
4.อธิบายผู้ป่วยและญาติทราบถึงสภาพของผู้ป่วย
5.ดูแลให้ได้รับยาตามแผนการรักษาของแพทย์ Imipenem 500 MG.IV drip q 12 hr.rate 20 ml/hr.
Levophed(4:250) IV drip 20 ml/hr. Metronidazole 100 ml IV drip 30 ml/hr