Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทสตรีในสมัยประวัติศาสตร์ไทย - Coggle Diagram
บทบาทสตรีในสมัยประวัติศาสตร์ไทย
ช่วงเวลานับแต่มีการบันทึกหลักฐานมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางสังคม
ด้านการศึกษา
พระองค์เจ้าบุตรี
เป็นอาจารย์สอนวิชให้พระราชธิดาใน รัชกาลที่4
พระเจ้าพินาทวดี
จัดทำโบราณราชประเพณี
ด้านศาสนา
ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
ด้านวรรณกรรม
คุณพุ่มและคุณสุวรรณ
ได้รับการยกย่องว่าเป็นกวีหญิงคนแรก
พระเจ้าบรมวงค์เธอ พระองค์เจ้ากุกรมหลวงนรินทาเทวี
ได้นนิพนธ์จดหมายเหตุความทรงจำบันทึกเรื่องราวเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยกรุงสรีอยุธยาเสียกรุงแก่พม่าจนถึงสมัยสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระเจ้ากุณฑลและพระเจ้าฟ้ามงกุฎ
ทรงนิพนธ์ละครเรื่องดาหลังและอิเหนาโดยนำมาดัดแปลจากชวา
พระเจ้าบรมวงค์เธอองค์เจ้ามณฑา พระเจ้าบรมวงค์เธอพรเจ้าองค์เจ้าอุบล
ได้นิพนธ์กุมารคำฉันท์
บทบาททางการเมือง
ด้านการเจริญสัมพันธ์ไมตรทางเครือญาติ
เมื่อมีการเปลื่ยนผู้นำ
การแต่งงานระหว่งผู้ใหม่กับสตรีในราชวงศ์
เมื่อตกอยู่ในอำนาจอาณาจักรอื่น
การถวายพระราชธิดา
เสริมสร้างสัมพันธไมตรี
แบบเครือญาติ
การส่งราชธิดาให้แก่อีกเจ้าเมือง
แสหวงหาพัทธมิตร
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้มีการเจริญสัมพันธืไมตรีกับกรุงศรีสัตนาคนหุตบ้านนา
ด้านการปกครอง
พระมหาเทวีล้านนา
พระมหาเทวีวิสุทธิเทวี ปกครองเมืองเชียงใหม่ในช่วงเป็นของพม่า
พระมหาเทวีโลกจุลกะเทวี ผลักดันให้โอรสขึ้นครองราชย์
พระมหาเทวีชนนี ควบคุมกองทัพเพื่อขายอำนาจของล้านนนา
พระมหาเทวีจิรรประภาปกครองเมืองเชียงใหม่ให้รอดจากวิกฤต
พระนางจามเทวี
สถาปนานครหริภุญชัย
ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา
ขยายอำนาจ
กลมหลวงโยธาเทพ
พระราชธิดาสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
จัดเก็บส่วยอากร
มีสิทธิขาดปกครองดูแลราชสำนักฝ่ายใน
แม่อยู่หัวศรีสุดาจันทร์
ปกครองกรุงศรีอยุธยากับขุนวรองศาธิราช
ด้านการรบและทำสงคราม
สตรีสูงศักดิ์แห่งล้านนา
มีบทบาทในการรบเพื่อปกป้องบ้านเมืองและช่วยขยายอำนาจ
สมเด็จพระศรีสุริโยทัย
พระองค์ได้ช่วยพระสวามีป้องกันบ้านเมืองจากกองทับพม่า
เจ้าศรีอโนชา
ช่วยปราบกบฎ
รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
มีการวางแผนต่างสุ้กับกองทับเจ้าอนุวงศืแห่งเวียงจันทร์
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก
นำประชาชนต่อต้านที่พม่ามาตีเมืองกลาง
สมัยรัชกาลที่ 5 ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มมเหสีของรัชกาลที่5
สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี
พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในหัวเมือง
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรีพระบรมราชินีนาถ
ด้านสาธารณสุขและการแพทย์ มีการก่อตั้งและสร้างโรงพยาบาล
ด้านการศึกษา จัดตังโรงเรียนหลายแห่ง
ด้านการปกครอง เป็นผู้สำเร็จการแผ่นดิย
เจ้าจอมมารดาแพ
แก้ไขปรับปรุงประเทศให้ทันสมัย
จัดตั้งสุขศาลาให้แก่ประชาชน
สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศรีพระอัครราชเทวี
นิพนะ์ สุขุมาลนิพนธ์
จัดตั้งแหล่งศึกษาและอาคารเรียน
พระอรรคชายาเธอ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์
เป็นเลขานุการใน ร.5
จัดสร้างโรงเลี้ยงเด็กกำพรา
พระราชายาดารารัศมี
สนับสนุนการก่อตั้งโรงเรียนในเชียงใหม่
นำฟ้อพื้นเมืองมาแสดงในงานเฉลิมฉลอง
เชื่อมความสัมพันธ์และวัฒนาธรรม
ด้านอาชีพและกิจกรรมสังคม
หม่อมเจ้าหญิงพูนเพิศสมัย ดิสกุล
ก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก
หม่อมศรีพรหมมา กฤตากร
นำเทคโนโลยีและวิถีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกตื
ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม
ก่อตั้งโรงเรียนเบณจมาราชูทิศ
ก่อตั้งโรงเรียนสตรีที่สงขลาและตรัง
กลุ่มสตรีด้านกฎหมาย
เรียกร้องสิทะิและยกระดับสถานภาพให้เท่าเทียมกัน
หม่อมหลวงพวงร้อย อภัยวงศ์
ประพันะ์บทเพลงที่ไพเราะและทรงคุณค่าไว้มากกว่า 20 เพลง
สตรีจากราชสกุลกุยชร
การเขียนแนวนิยายที่สะท้อนสภาพสังคมในยุคนั้น
กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านการศึกษา
สั่งสอนเยาวชนให้เติบโตและพัฒนาประเทสชาติให้มั่นคง
ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
จัดพิมพ์ตำราแม่ครัวหัวป่าก์
สนับสนุนการพัฒนาสถานภาพของสตรี