Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความผู้สูงอายุ, น.ส. พิชญานิน นิสภา เลขที่ 57 (62111301059) ปี 2 รุ่น…
ทฤษฎีความผู้สูงอายุ
ทฤษฎีทางชีวภาพ
(Biological Theories)
ประกอบไปด้วย
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross - Linking Theory) หรือทฤษฎีคอลลาเจน (Collagen Theory )
โดยอุดกั้นทางเดินระหว่างภายนอกกับภายในเซลล์ของสารอาหารและของเสียที่เกิดขึ้น
หน้าที่การทำงานจึงลดลง สารไขว้ขวาง เช่น คอลลาเจน อิลาสติน และสารที่อยู่ภายในเซลล์ รวมทั้งสารที่อยู่นอกเซลล์เป็นกลุ่มสารเส้นใยโปรตีนที่ประกอบเป็นโครงร่างของร่างกาย
ทฤษฏีเชื่อว่าความสูงอายุว่า เมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวจะเปลี่ยนแปลงลักษณะไขว้ขวางกันและอาจจะขัดขวางกระบวนการเผาผลาญในร่างกาย
เป็นเนื้อเยื่อประคับประคองและให้ความแข็งแรง พบมากในผิวหนัง กระดูกและกล้ามเนื้อ
เนื่องจากคอลลาเจนเกิดจากการเชื่อมตามขวางภายในเซลล์ พบเมื่ออายุมากขึ้น
เมื่อเนื้อเยื่อคอลลาเจนมีการเปลี่ยนแปลงทำให้มีลักษณะแข็ง แตกแห้ง สูญเสียความยืดหยุ่น มีความคล่องตัวในการเคลื่อนไหวร่างกายลดลง เนื้อเยื่อสูญเสียความยืดหยุ่น
เป็นผลให้เกิดความเสื่อมของอวัยวะ
เช่น
เลนซ์ในลูกตา
ทำให้มีความทึบแสงมากขึ้น
ผนังหลอดเลือด
กลายเป็นต้อกระจก (cataracts)
ผิวหนัง
ทฤษฎีพันธุกรรม
(Genetic Theory)
อายุขัยของมนุษย์ถูกโปรแกรมก่อนเกิดกำหนดไว้โดยเริ่มจากยีนใน DNAถ่ายทอดลักษณะต่าง ๆ ให้ลูกหลาน
ทฤษฎีนี้เชื่อว่ามนุษย์สามารถคาดอายุขัยได้
คือ ครอบครัวใดที่ พ่อ – แม่ – ปู่ – ย่า ตา – ยาย อายุยืน ลูกย่อมมีอายุยืนด้วย
ทฤษฎีนี้เชื่อว่า ความสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม
ทฤษฎีสะสม
(Accumulation Theory)
พบในเซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจ ตับและเส้นประสาท
สารนี้เป็นผลผลิตของการเผาผลาญไขมันไม่อิ่มตัว
ซึ่งเชื่อว่าสารไลโปฟัสซินมีผลเสียต่อร่างกายจะมีผลต่อการกระจายและการขนส่งสารที่จำเป็นในร่างกาย
ทฤษฏีนี้เกิดจากสารไลโปฟัสซิน (Lipofuscin) เป็นสารสีเหลืองที่ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม
(Wear and tear theory)
ทฤษฎีนี้ได้เปรียบเทียบคนคล้ายกับเครื่องจักร
หรือใช้อย่างหักโหมสะสมมาเรื่อย ๆ เมื่ออายุมากขึ้น
จึงเกิดการตายของเซลล์ เนื้อเยื่ออวัยวะและระบบต่าง ๆ ในร่างกายจะทำงานเสื่อมลง
เช่น หลอดเลือด ข้อเข่า
คือเมื่อมีการใช้งานมาก ๆ ใช้งานอวัยวะเป็นเวลานาน
จึงควรมีการส่งเสริมสุขภาพและการชะลอความเสื่อมของร่างกายเพื่อชะลอความเสื่อม
แนวคิดใหม่ที่สอดคล้องกับทฤษฎีอนุมูลอิสระคือ ทฤษฎีจำกัดพลังงาน (Caloric Restriction or Metabolic Theory)
ซึ่งเชื่อว่าการจำกัดพลังงานในอาหารที่รับประทานจะช่วยชะลอกระบวนการเผาผลาญในร่างกายให้ช้าลงโดยเฉพาะไขมัน
ทฤษฎีระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน (Neuroendocrine-Immunologic Theory)
ระบบภูมิคุ้มกันแบบ humoral immunity เกิดจากการทำงานของ B cellร่างกายสร้าง antibody ต่อต้าน antigen ที่จำเพาะ
เช่น
แบคทีเรีย ไวรัส และภูมิคุ้มกันนี้ ลดลง เมื่ออายุ มากขึ้น มีผลทำให้ มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ทฤษฎีนี้เชื่อว่า ความสูงอายุเป็นผลร่วมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท/ ต่อมไร้ท่อและระบบภูมิคุ้มกันที่ทำหน้าที่ลดลงหรือแตกต่างจากเดิม
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ
(Free radical Theory)
เป็นโมเลกุลที่ขาดออกซิเจนที่ขาดอิเล็กตรอนไปหนึ่งตัว มีผลให้โมเลกุลออกซิเจนนั้นมีประจุเป็นลบ และมีความไวต่อการเกิดปฏิกิริยาอิเล็กตรอนสูง
จึงเกาะกับโมเลกุลตัวอื่นและทำลายโมเลกุลนั้นด้วยการแย่งอิเล็กตรอนไป จะพยายามไปดึงอิเล็กตรอนจากโมเลกุลอื่น ๆ เป็นลูกโซ่เรื่อย ๆ
ความสูงอายุเกิดจากการสะสมสารที่เกิดจากการเผาผลาญไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต ร่วมกับ การได้รับการกระตุ้นจากความร้อน แสง และรังสี ก่อให้เกิดสารที่เรียกว่า อนุมูลอิสระ
เมื่อมีอนุมูลอิสระจะเข้าทำลายโปรตีน เอ็นไซด์ และ DNA ส่งผลให้อวัยวะมีความเสื่อมลง ร่างกายทำหน้าที่ลดลง
เมื่อเข้าสู่วัยชรากระบวนการเปลี่ยนแปลงของความชรามักสัมพันธ์กับกับอายุของสิ่งมีชีวิต
เป็นทฤษฎีที่อธิบายความชราทางชีววิทยาซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่เกิดขึ้นในร่างกายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม
(Phychosocial theory)
ซึ่งขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพสถานภาพ วัฒนธรรม เจตคติ โครงสร้างครอบครัวและการมีกิจกรรมในสังคม
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีความต่อเนื่อง
(Continuity Theory)
และบุคลิกภาพเป็นผลมาจากความพึงพอใจใน ชีวิตต่อการมีบทบาทในกิจกรรมนั้น ๆ
ดังนั้นควรมีการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการตัดสินใจที่จะเลือก เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจและไม่ขัดแย้งต่อความรู้สึกภายในผู้สูงอายุ
ทฤษฎีนี้ อธิบายว่าผู้สูงอายุจะมีความสุขในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและแบบแผนการดำเนินชีวิตที่มีมาในอดีตที่แต่ละคนเคยปฏิบัติมาก่อน
เชื่อว่าบุคลิกภาพและรูปแบบพฤติกรรมไม่เปลี่ยนแปลงไปเมื่ออายุมากขึ้น
คนเราพยายามรักษาทุกอย่างให้เหมือนเดิมมากที่สุด คงไว้ซึ่งบุคลิกภาพเดิมๆ
เพื่อรักษาความมั่นคงให้กับชีวิต
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน
(Erikson,s Developmental Tasks)
ผู้สูงอายุต้องปรับตัวต่อความสิ้นหวังให้คงไว้ซึ่งความรู้สึกเป็นตัวของตัวเอง ใช้ชีวิตที่เป็นอิสระมากขึ้น หาจุดหมายใหม่ของชีวิต และทำบทบาทใหม่เพื่อดำเนินชีวิตต่อไปอย่างมีความหมาย
แนวคิดที่สำคัญ
คือ
การเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพจิตดี อยู่บนพื้นฐานของการประสบความสำเร็จในการเผชิญพันธะกิจในแต่ละขั้นตอนของชีวิต สิ่งที่ผู้สูงอายุควรปฏิบัติ
คือการหาความหมายของชีวิตเพื่อเสริมความรู้สึกมีศักดิ์ศรี ซึ่งจะช่วยให้ผู้สูงอายุยอมรับการเปลี่ยนแปลง
พัฒนกิจที่สำคัญในวัยผู้สูงอายุ ได้แก่ การปรับตัวต่อความเจ็บป่วย การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง การชื่นชมกับชีวิตในอดีต และการเตรียมตัวเองเข้าสู่วาระสุดท้ายของชีวิต
ทฤษฎีการมีกิจกรรม
(Activity theory)
เมื่อผู้สูงอายุเกิดการสูญเสียบทบาทที่เคยทำอยู่ บทบาทใหม่หรือบทบาทที่แตกต่าง ออกไป รวมทั้งความสนใจใหม่ ๆ ควรเข้ามาแทนที่
ดังนั้นจึงควรตระหนักให้ผู้สูงอายุ มีกิจกรรมต่อไปเมื่อมีอายุมากขึ้น การกระตุ้นให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมต่อไป เพื่อความมั่นคงและอยู่ในสังคมได้ อย่างมีคุณค่าและผาสุกต่อไป
โดยทฤษฎีนี้ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่อไป ไม่ยอมรับการเป็นผู้สูงอายุเร็วเกินไป
ทฤษฎีของเพค
(Peck, Concept)
ไม่ใช่จากการมีบทบาทในสังคม ผู้สูงอายุควรหาความสุขทางใจมากกว่า หมกมุ่นกับความจำกัดของร่างกายที่เกิดขึ้นจากความสูงอายุ
และควรมองหรือสะท้อนคิดถึงอดีตที่ ประสบความสำเร็จอย่างชื่นชมแทนการมอง ระยะเวลาที่เหลืออยู่ในชีวิต
ขยายแนวคิดของ Erikson ให้เฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับการสร้างความรู้สึกมีศักดิ์ศรีในตนเองว่าผู้สูงอายุควรสร้างความรู้สึกพึงพอใจในตนเองในฐานเป็นคนคนหนึ่ง
ทฤษฎีการถดถอย
(Disengagement Theory)
หรือต้องการปล่อยวางเป็นอิสระ ฉะนั้นถ้าสังคมและบุคคลรอบข้างของผู้สูงอายุยอมรับเปิดโอกาสและเคารพในตัวผู้สูงอายุ
จะทำให้ผู้สูงอายุมีความสุขมากขึ้น และทำให้พวกเขารู้สึกว่ายังมีคุณค่ากับสังคมและบุคคลรอบข้างต่อไป
เมื่อถึงวัยผู้สูงอายุจะสามารถยอมรับในบทบาทและหน้าที่ของตนเองลดลง ทำให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีลักษณะแยกตัวออกจากสังคมทีละน้อย
เชื่อว่าความสูงอายุเป็นกระบวนการถดถอยออกจากการดำเนินชีวิตในสังคมเมื่อมีปฏิสัมพันธ์ลดลง การเปิดโอกาสให้บุคคลรุ่นใหม่เข้ามาทำหน้าที่แทน โดยเป็นความพึงพอใจทั้งตัวผู้สูงอายุแลคนรุ่นใหม่
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและสังคมของผู้สูงอายุมักจะมีผลกระทบพร้อม ๆ กัน
น.ส. พิชญานิน นิสภา เลขที่ 57 (62111301059) ปี 2 รุ่น 37