Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความสูงอายุ, นางสาวนุสรา ทัดสี เลขที่ 40 รหัสนักศึกษา 62111301042 -…
ทฤษฎีความสูงอายุ
ทฤษฎีทางชีวภาพ (Biological Theories)
คือ
เป็นทฤษฎีที่อธิบายความชราทางชีววิทยาซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่เกิดขึ้นในร่างกายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ประกอบไปด้วยทฤษฎีดังต่อไปนี้
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical Theory)
ความสูงอายุเกิดจากการสะสมสารที่เกิดจากการเผาผลาญไขมันโปรตีนและคาร์โบไฮเดรตร่วมกับการได้รับการกระตุ้นจากความร้อนแสงและรังสีก่อให้เกิดสารที่เรียกว่าอนุมูลอิสระ
เมื่อมีอนุมูลอิสระจะเข้าทำลายโปรตีนเอ็นไซด์และ DNA ส่งผลให้อวัยวะมีความเสื่อมลงร่างกายทำหน้าที่ลดลง
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross-Linking Theory) หรือทฤษฎีคอลลาเจน (Collagen Theory)
ีเชื่อว่าความสูงอายุว่าเมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวจะเปลี่ยนแปลงลักษณะไขว้ขวางกันและอาจจะขัดขวางกระบวนการเผาผลาญในร่างกายโดยอุดกั้นทางเดินระหว่างภายนอกกับภายในเซลล์ของสารอาหารและของเสียที่เกิดขึ้นหน้าที่การทำงานจึงลดลงส
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory)
ทฤษฎีนี้ได้เปรียบเทียบคนคล้ายกับเครื่องจักร
เมื่ออายุมากขึ้นจึงเกิดการตายของเซลล์เนื้อเยื่ออวัยวะและระบบต่าง ๆ ในร่างกายจะทำงานเสื่อมลง
งควรมีการส่งเสริมสุขภาพและการชะลอความเสื่อมของร่างกายเพื่อชะลอความเสื่อม
ทฤษฎีพันธุกรรม (Genetic Theory)
ทฤษฎีนี้เชื่อว่าความสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม
มนุษย์สามารถคาดอายุขัยได้นั่นคือครอบครัวใดที่พ่อ-แม่-ปู่ย่าตา-ยายอายุยืนลูกย่อมมีอายุยืนด้วย
ทฤษฎีระบบประสาท / ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน (Neuroendocrine-Immunologic Theory)
ทฤษฎีนี้เชื่อว่าความสูงอายุเป็นผลร่วมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท / ต่อมไร้ท่อและระบบภูมิคุ้มกันที่ทำหน้าที่ลดลงหรือแตกต่างจากเดิม
การทำงานของ B cell ร่างกายสร้าง antibody ต่อต้าน antigen ที่จำเพาะเช่นแบคทีเรียไวรัสและภูมิคุ้มกันนี้ลดลงเมื่ออายุมากขึ้นมีผลทำให้มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ทฤษฎีสะสม (Accumulation Theory)
ทฤษฎีนี้เกิดจากสารไลโปฟิสซิน (Lipofuscin)
ไลโปฟิสซิน (Lipofuscin)
เป็นสารสีเหลืองที่ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน
พบในเซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจตับและเส้นประสาท
สารนี้เป็นผลผลิตของการเผาผลาญไขมันไม่อิ่มตัวซ
มีผลเสียต่อร่างกายจะมีผลต่อการกระจายและการขนส่งสารที่จำเป็นในร่างกาย
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (Phychosocial theory))
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและสังคมของผู้สูงอายุมักจะมีผลกระทบพร้อม ๆ กันซึ่งขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพสถานภาพวัฒนธรรมเจตคติโครงสร้างครอบครัวและการมีกิจกรรมในสังคม
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมีดังนี้
ทฤษฎีการถดถอย (Disengagement Theory)
เมื่อถึงวัยผู้สูงอายุจะสามารถยอมรับในบทบาทและหน้าที่ของตนเองลดลง
เชื่อว่าความสูงอายุเป็นกระบวนการถดถอยออกจากการดำเนินชีวิตในสังคมเมื่อมีปฏิสัมพันธ์ลดลงการเปิดโอกาสให้บุคคลรุ่นใหม่
พยาบาลจะต้องให้การดูแลผู้สูงอายุที่แตกต่างกัน
สนับสนุนความรู้สึกมีคุณค่าเป็นสมาชิกในสังคม
ทฤษฎีการมีกิจกรรม (Activity theory)
ทฤษฎีนี้ส่งเสริมการทำกิจกรรมต่อไปไม่ยอมรับการเป็นผู้สูงอายุเร็วเกินไป
การกระตุ้นให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมต่อไปเพื่อความมั่นคงและอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่าและผาสุกต่อไป
ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Continuity Theory
ผู้สูงอายุจะมีความสุขในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ได้ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและแบบแผนการดำเนินชีวิตที่มีมาในอดีตที่แต่ละคนเคยปฏิบัติมาก่อน
เชื่อว่าบุคลิกภาพและรูปแบบพฤติกรรมไม่เปลี่ยนแปลงไปเมื่ออายุมากขึ้นคนเราพยายามรักษาทุกอย่างให้เหมือนเดิมมากที่สุดคงไว้ซึ่งบุคลิกภาพเดิม ๆ เพื่อรักษาความมั่นคงให้กับชีวิต
ควรมีการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการตัดสินใจที่จะเลือกเพื่อให้ผู้สูงอายุมีความพึงพอใจและไม่ขัดแย้งต่อความรู้สึกภายในผู้สูงอายุ
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน (Erikson's Developmental Tasks)
พัฒนกิจที่สำคัญในวัยผู้สูงอายุ
การปรับตัวต่อความเจ็บป่วย
การเตรียมตัวเองเข้าสู่วาระสุดท้ายของชีวิต
การชื่นชมกับชีวิตในอดีต
การเป็นผู้สูงอายุที่มีสุขภาพจิตดีอยู่บนพื้นฐานของการประสบความสำเร็จในการเผชิญพันธะกิจในแต่ละขั้นตอนของชีวิต
สิ่งที่ผู้สูงอายุควรปฏิบัติคือการหาความหมายของชีวิตเพื่อเสริมความรู้สึกมีศักดิ์ศรีซึ่งจะช่วยให้ผู้สูงอายุยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ใช้ชีวิตที่เป็นอิสระมากขึ้นหาจุดหมายใหม่ของชีวิต
ทำบทบาทใหม่เพื่อดำเนินชีวิตต่อไปอย่างมีความหมาย
ทฤษฎีของเพค (Peck Concept)
ขยายแนวคิดของ Erikson ให้เฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับการสร้างความรู้สึกมีศักดิ์ศรีในตนเอง
ผู้สูงอายุควรสร้างความรู้สึกพึงพอใจในตนเองในฐานเป็นคนคนหนึ่งไม่ใช่จากการมีบทบาทในสังคม
ควรหาความสุขทางใจมากกว่าหมกมุ่นกับความ จำกัด ของร่างกาย
ควรมองหรือสะท้อนคิดถึงอดีตที่ประสบความสำเร็จอย่างชื่นชมแทนการมองระยะเวลาที่เหลืออยู่ในชีวิต
นางสาวนุสรา ทัดสี เลขที่ 40
รหัสนักศึกษา 62111301042