Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงของผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
กระบวนการเปลี่ยนเเปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนเเปลงร่างกายของผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายใน
กรรมพันธุ์
สุขภาพอนามัย
การมองโลก ประสบการชีวิต
ความเชื่อ
ปัจจัยภายนอก
การศึกษา
สิ่งเเวดล้อม
เศรษฐกิจ
การเกษียณงาน
ปัญหา สาเหตุเเละการปฏิบัติตัว
เพื่อป้องกันการชะลอความเสี่ยงในผู้สูงอายุ
อุบัติเหตุ เเผลบริเวณผิวหนัง
ภาวะเบื่ออาหาร ขาดสารอาหาร โลหิตจาง
เลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าสูงครบทั้ง 5 หมู่
รับประทานอาหารครั้งละน้อยๆเเต่บ่อยๆครั้ง
กระดูกเปราะเเละหักง่าย ปวดข้อ
รับประทานอาหารที่มีเเคลเซี่ยม
ออกกำลังกายในสถานที่ที่มีเเสงเเดดอ่อนๆ อย่างสม่ำเสมอ
หลีกเลี่ยงท่านั่งยองๆ พับเพียบ ขัดสมาธิ ลดน้ำหนัก ระมัดระวังการเคลื่อนไหว
4.กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย
ความดันโลหิตสูง สมองขาดเลือด
ออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงความเครียดต่างๆ
งดอาหารที่มีไขมันสูง
วัดความดันโลหิตเสมอ พักผ่อนเพียงพอ
การติดเชื้อในทางเดินหายใจเเละการสำลัก ถุงลมโป่งพอง หายใจลำบากเเละเหนื่อยง่าย
รับประทานอาหารช้าๆ หลีกเลี่ยงการพูดขณะรับประทานอาหาร
เเนะนำการฉีดวัคซีนป้องกันการติดเชื้อทางเดินหายใจ
เบาหวาน
ควบคุมอาหาร รับประทานอาหารเเป้งเเละน้ำตาลลดลง
ท้องผูก
ดื่มน้ำมากขึ้น รับประทานผัก ผลไม้มากขึ้น
หลีกเลี่ยงความเครียดต่างๆ หลีกเลี่ยงยาระบาย
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ถ่ายปัสสาวะลำบากเเละถ่ายบ่อย
เตรียมห้องน้ำให้อยู่ใกล้สะดวกในการใช้
สังเกตอาการถ่ายปัสสาวะลำบากถ้ามีอาการมากขึ้น รีบปรึกษาเเพทย์ตรวจต่อมลูกหมากทุกปี
ต้อกระจก
ตรวจตาปีละ 1 ครั้ง ถนอมสายตา
ไม่ใช่สายตามากเกินไป เเสงสว่างเพียงพอ
10.การนอนไม่หลับ
จัดสถานที่ให้เงียบสงบ ไม่มีสิ่งรบกวนขณะนอนหลับ
หูตึง
ตรวจหูปีละ 1 ครั้ง สังเกตอาการหูตึง
ผิวเเห้งเเตกง่ายเหี่ยวย่น
หลีกเลี่ยงการอาบน้ำบ่อยๆ หลีกเลี่ยงการใช้สบู่
ใช้สบู่อ่อนๆทาผิวหนังด้วยโลชั่น หลีกเลี่ยงเเสงเเดด
ความไม่สมดุลของน้ำในร่างกาย
เเนะนำให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพอ
หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่อาการร้อน เพื่อป้องกันการสูญเสียน้ำออกจากร่างกาย
หนาวเย็น
ใส่เสื้อผ้าหนาๆ ในวันที่อากาศหนาวเย็น
การติดเชื้อในอวัยวะสืบพันธุ์เจ็บขณะร่วมเพศ
เเนะนำการดูเเลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์
ใช้สารหล่อลื่นขณะร่วมเพศ
การเปลี่ยนเเปลงทางกายภาพเเละสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
ระบบผิวหนัง(Integumentary System)
ผิวหนังบางลง ความเหนียวของผิวหนังเพื่มมากขึ้น เซลล์ผิวหนังมีจำนวนลดลง เซลล์ที่เหลือเจริญช้าลง อัตราการสร้างเซลล์ใหม่ขึ้นมาทดเเทนเซลล์เดิม ลดลงทำให้การหายของเเผลช้าลง
ต่อมเหงื่อมีจำนวนเเละขนาดลดลง ดังนั้น การระบายความร้อนโดยวิธีการระเหยจึงไม่ดี ทำให้การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายเลวลง
ทำให้เกิดลมเเดด (heat stroke)
ต่อมไขมันทำงานลดลง ทำให้ผิวหนังเเห้งคัน
เเละเเตกง่าย
ผมเเละขนมีจำนวนลดลง
ทำให้ผมเเละขนทั่วไปสีจางลง กลายเป็นสีเทาหรือสีขาว เส้นผมร่วงเเห้งง่าย
ปัญหาการได้ยินลดลง หูตึง (Presbycusis)
มีการเสื่อมของ organ of Coeti เเละ basilar membrane ร่วมกับเส้นประสาทคู่ที่ 8 (auditoty nerve) เยื่อเเก้วหูเเละอวัยวะหูชั้นกลางเเข็งตัวมากขึ้น
มีความบกพร่องการได้ยินระดับเสียงสูงมากกว่าระดับเสียงต่ำ
การสื่อสารกับผู้สูงอายุ ไม่ควรตะโกนเเต่ควรพูดด้วย
เสียงทุ้ม พูดถ้อยคำง่ายๆ พูดช้าๆ ชัดเจน
การมองเห็น
ลูกตามีขนาดเล็กลงเเละลึกเพราะไขมันของลูกตาลดลงหนังตามีความยืดหยุ่นลดลง
รูม่านตาเล็กลง ปฏิกิริยาตอบสนองของม่านตาต่อเเสงลดลง
ทำให้การปรับตัวสำหรับการมองเห็นในสถานที่ต่างๆ ไม่ดีโดยเฉพาะในสถานที่มืดหรือในเวลากลางคืน
โดยทั่วไปผู้สูงอายุสามารถเเยกสีเเดง สีส้มเเละสีเหลือง ได้ดีสีน้ำเงิน สีม่วง สีเขียว
เซลล์สมองเเละเซลล์ประสาท
ขนาดของสมองลดลงประสิทธิภาพของการทำงานของสมองเเละประสาทอัตโนมัติลดลง
เป็นเหตุให้ความไวเเละความรู้สึกตอบสนองต่อปฏิกิริยาต่างๆลดลง
ความจำเสื่อมโดยเฉพาะเรื่องราวใหม่ๆ
ระบบกล้ามเนื้อเเละกระดูก (Musculoskeletal system)
หลังอายุ 40 ปีอัตราการเสื่อมของกระดูกมากกว่าอัตราการสร้างเซลล์กระดูกลดลงเเคลเซียมมีการสลายออกจากกระดูกมากขึ้น
ในเพศหญิงสาเหตุที่สำคัญ
การขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน ฮอร์โมนนี้ออกฤทธิ์กระตุ้นการทำงานของ osteoblasts ลดลงหลังหมดประจำเดือนทำให้เเคลเซียมสลายออกจากกระดูก
ความยาวของกระดูกลดลงเพราะหมอนรองกระดูกสูญเสียน้ำเเละบางลงกระดูกหลังผุมากขึ้น
ระบบหัวใจเเละหลอดเลือด (Cardiovascular System)
หลอดเลือดของผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนเเปลงในทางเสื่อมมากขึ้น ผนังหลอดเลือดฝอยหนาขึ้น ทำให้การเเลกเปลี่ยนอาหารเเละของเสียลดลง ผนังหลอดเลือดมีความยืดหยุ่นน้อยลง
การเปลี่ยนเเปลงท่าทางต่างๆในผู้สูงอายุจึงควรกระทำอย่างช้าๆ เพราะอาจเกิดรอยช้ำได้ง่าย
ระบบภูมิคุ้มกันทำงานลดลง ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ระบบทางเดินหายใจ(Respiratory System)
มีความยืดหยุ่นของเนื้อปอดลดลง ความเเข็งเเรงเเละกำลังการหดตัวของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจเข้าหายใจออกลดลง ปอดยืดขยายเเละหดตัวได้น้อยลง
เกิดการติดเชื้อทางเดินหายใจได้ง่าย
การทำงานของฝาปิดกล่องเสียงเลวลด เป็นเหตุทำให้เกิดการสำลักเเละเกิดโรคปอดบวมได้ง่าย
ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
ฟันสึกกร่อน เคลือบฟันบางลง ฟันเปราะ บิ่นง่าย ฟันผุหลุดล่วงง่าย
ต่อมน้ำลายเสื่อมหน้าที่ทำให้การย่อยเเป้งเเละน้ำตาลในปากลดลง
ปากเเละลิ้นเเห้งมีการติดเชื้อในปากมากขึ้น
การรับรสของลิ้นเสียไปทำให้เกิดภาวะเบื่ออาหาร
หลอดอาหารมีขนาดกว้างขึ้นกล้ามเนื้อหูรูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อนตัวลงเเละทำงานช้าลงอาหารให้กระเพาะอาหารไหลย้อนกลับขึ้นมาในหลอดอาหารทำให้รู้สึกเเสบยอดอก
การทำงานของกล้ามเนื้อกระเพาะอาหารลดลงอยูาในกระเพาะอาหารยาวนานขึ้น
ระบบทางเดินปัสสาวะ เเละระบบสืบพันธุ์ (Genitourinart System)
ไต ขับของเสียออกจากร่างกายได้ลดลง
ผู้สูงอายุจึงมีความเสี่ยงต่อภาวะขาดน้ำ ปัสสาวะบ่อย
กระเพาะปัสสาวะมีความจุลดลงเเละเซลล์กล้ามเนื้อกระเพาะปัสสาวะลดลง
ผู้ชายอาจมีปัสสาวะขัด ปัสสาวะไม่พุ่งเนื่องจากต่อมลูกหมากโต
ผู้หญิงก็มีอาการกลั้นปัสสาวะไม่อยู่เป็นบางครั้ง เพราะกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อน
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
สะสมมากขึ้น การทำงานจึงลดลงทำให้ผู้สูงอายุจะเกิดภาวะ hypothyroidism
ตับอ่อนหลั่งอินสุลินลดลงเเละช้า ระดับน้ำตาลขณะอดอาหารคงที่ ภายในร่างกายตอบสนองต่ออินสุลินน้อยกว่าปกติ
ต่อมเพศทำงานลดลง จึงเป็นผลทำให้ไม่มีประจำเดือน ขนบริเวณรักเเร้เเละหัวเหน่าลดลง