Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีความสูงอายุ - Coggle Diagram
ทฤษฎีความสูงอายุ
ทฤษฎีชีวภาพ biological theory
คือ
การเปลี่ยนแปลงทางด้าน กายภาพที่เกิดขึ้นกับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ทฤฎ๊ที่เกี่ยวข้อง
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross - Linking Theory) หรือทฤษฎีคอลลาเจน (Collagen Theory )
ลักษณะ
เนื่องจากคอลลาเจนเกิดจากการเชื่อมตามขวางภายในเซลล
ทําใหมีลักษณะแข็ง แตกแหง สูญเสียความยืดหยุน
คลองตัวในการเคลื่อนไหวรางกายลดลง เนื้อเยื่อสูญเสียความยืดหยุน เปนผลใหเกิดความเสื่อมของอวัยวะ
เชน ผิวหนัง ผนังหลอดเลือด เลนซในลูกตา
อธิบายวา เมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวจะเปลี่ยนแปลงลักษณะไขวขวางกันและอาจจะขัดขวางกระบวนการเผาผลาญในรางกายหนาที่การทํางานจึงลดลง
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory)
ทฤษฎีนี้ไดเปรียบเทียบคนคลายกับเครื่องจักร คือเมื่อมีการใชงานมาก ๆ ใชงานอวัยวะเปนเวลานาน หรือใชอยางหักโหมสะสมมาเรื่อย
เมื่ออายุมากขึ้น จึงเกิดการตายของเซลล เนื้อเยื่ออวัยวะและระบบตาง ๆ ในรางกายจะทํางานเสื่อมลง
เชน หลอดเลือด ขอเขา เปนตน
ทฤษฎีสะสม (Accumulation Theory)
อธิบายว่าเกิดจากสาร ไลโปฟัสสซิน (Lipofuscin)
สารนี้เป็นผลผลิตจากของการเผาผลานไขมันไม่อิ่มตัว
เชื่อส่ามีผลต่อการขนส่งสารที่จำเป็นในร่างกายน
เป็นสารสีเหลืองที่ประกอบด้วยไขัมันและโปรตีนพบได้มากในเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ
ทฤษฎีพันธุกรรม (Genetic Theory)
ความสูงอายุถูกควบคุมดวยพันธุกรรม อายุขัยของมนุษยถูกโปรแกรมกอนเกิดกําหนดไวโดยเริ่มจากยีนใน DNAถายทอดลักษณะตาง ๆ ใหลูกหลาน
ทฤษฎีนี้เชื่อวามนุษยสามารถคาดอายุขัยได นั่นคือ ครอบครัวใดที่พอ – แม – ปู – ยา ตา – ยาย อายุยืน ลูกยอมมีอายุยืนดวย
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical Theory)
อธิบายว่าความสูงอายุเกิดจาก การสะสมของสารที่เกิดจากการเผาผลาญ
ไขมัน โปรตีนและคาร์โบไฮเดรต ร่วมกับแสง ความร้อนและรังสี
แนวคิดใหม่ที่สอดคล้องกับทฤษฎีนี้คือ
ทฤฎีการจำกัดพลังงาน (Caloric Restriction or Metabolic Theory)
ทฤษฎีระบบประสาท/ตอมไรทอและภูมิคุมกัน (Neuroendocrine-Immunologic Theory)
ทฤษฎีนี้เชื่อวาความสูงอายุเปนผลรวมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท/ตอมไรทอและระบบภูมิคุมกันที่ทําหนาที่ลดลง หรือแตกตางจากเดิม
เชน แบคทีเรีย ไวรัส และภูมิคุมกันนี้ ลดลง เมื่ออายุมากขึ้น มีผลทําให มีโอกาสติดเชื้อไดงาย
ระบบภูมิคุมกันแบบ humoral immunity เกิดจากการทํางานของ B cell รางกายสราง antibody ตอตาน antigen ที่จําเพาะ
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (Phychosocial theory)
ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน (Erikson, s Developmental Tasks)
พัฒนกิจที่สําคัญในวัยผูสูงอายุ ไดแก
การชื่นชมกับชีวิตในอดีต
การปรับตัวตอความ เจ็บปวย การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง
การเตรียมตัวเองเขาสูวาระสุดทายของชีวิต
ผูสูงอายุตองปรับตัวตอ ความสิ้นหวังใหคงไวซึ่งความรูสึกเปนตัวของตัวเอง ใชชีวิตที่เปนอิสระ มากขึ้น หาจุดหมายใหมของชีวิต และทําบทบาทใหมเพื่อดําเนินชีวิต ตอไปอยางมีความหมาย
แนวคิดที่สําคัญคือ
การเปนผูสูงอายุที่มีสุขภาพจิตดี อยูบนพื้นฐานของ การประสบความสําเร็จในการเผชิญพันธะกิจในแตละขั้นตอนของชีวิต สิ่งที่ผูสูงอายุควรปฏิบัติคือ การหาความหมายของชีวิตเพื่อเสริม ความรูสึกมีศักดิ์ศรี ซึ่งจะชวยใหผูสูงอายุยอมรับการเปลี่ยนแปลง
ทฤษฎีของเพค (Peck, Concept) ขยายแนวคิดของ Erikson
ใหเฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับการสรางความรูสึกมีศักดิ์ศรีใน ตนเองวาผูสูงอายุควรสรางความรูสึกพึงพอใจในตนเองในฐานเปน คนคนหนึ่ง ไมใชจากการมีบทบาทในสังคม
ผูสูงอายุควรหาความสุข ทางใจมากกวา หมกมุนกับความจํากัดของรางกายที่เกิดขึ้นจาก ความสูงอายุ และควรมองหรือสะทอนคิดถึงอดีตที่ ประสบความสําเร็จอยางชื่นชมแทนการมอง ระยะเวลาที่เหลืออยูในชีวิต
ทฤษฎีความตอเนื่อง (Continuity Theory)
ทฤษฎีนี้ อธิบายวาผูสูงอายุจะมีความสุขในการทํากิจกรรมตาง ๆ ไดขึ้นอยูกับ บุคลิกภาพและแบบแผนการดําเนินชีวิตที่มีมาในอดีตที่แตละคนเคย ปฏิบัติมากอน
บุคลิกภาพเปนผลมาจากความพึงพอใจใน ชีวิตตอการมีบทบาทในกิจกรรมนั้น ๆ ดังนั้นควรมีการสงเสริมให ผูสูงอายุมีการตัดสินใจที่จะเลือก เพื่อใหผูสูงอายุมีความพึงพอใจ
โดย
ไมขัดแยงตอความรูสึกภายในผูสูงอายุ
การประเมินพฤติกรรมในอดีตของผูสูงอายุ จึงเปนประโยชนใน การชวยใหผูสูงอายุเผชิญกับภาวะความเครียดในปจจุบันและอนาคตดังนั้นการประเมินพฤติกรรมในอดีตของผูสูงอายุ
ทฤษฎีการมีกิจกรรม (Activity theory)
โดยทฤษฎีนี้สงเสริม การทํากิจกรรมตอไป ไมยอมรับการเปนผูสูงอายุเร็วเกินไป เมื่อผูสูงอายุ เกิดการสูญเสียบทบาทที่เคยทําอยู บทบาทใหมหรือบทบาทที่แตกตาง ออกไป รวมทั้งความสนใจใหม ๆ ควรเขามาแทนที่
ดังนั้นจึงควรตระหนักใหผูสูงอายุ
มีกิจกรรมตอไปเมื่อมีอายุมากขึ้น
มีกิจกรรมตอไปเมื่อมีอายุมากขึ้น การกระตุนใหผูสูงอายุไดมีกิจกรรมตอไป เพื่อความมั่นคงและอยูในสังคมได อยางมีคุณคาและผาสุกตอไป
ทฤษฎีการถดถอย (Disengagement Theory)
เมื่อถึงวัยผูสูงอายุจะสามารถยอมรับในบทบาทและหนาที่ของตนเองลดลงทําใหผูสูงอายุสวนใหญมีลักษณะแยกตัวออกจากสังคมทีละนอย
ฉะนั้นถาสังคมและบุคคลรอบขางของผูสูงอายุยอมรับเปดโอกาสและเคารพในตัวผูสูงอายุ จะทําใหผูสูงอายุมีความสุขมากขึ้น และทําใหพวกเขารูสึกวายังมีคุณคา
พยาบาลจะตองใหการดูแลผูสูงอายุที่แตกตางกัน เพราะผูสูงอายุมี การตอบสนองตอการเกษียณอายุการทํางานที่แตกตางกัน ควรจัดให มีความรูการเตรียมตัวกอนการเกษียณ สนับสนุนความรูสึกมีคุณคา เปนสมาชิกในสังคม คงไวซึ่งความรูสึกมีอํานาจในการควบคุม สิ่งแวดลอมที่อยูอาศัยของตน
คือ
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจและสังคมของผูสูงอายุมักจะมีผลกระทบพรอม ๆ กัน ซึ่งขึ้นอยูกับบุคลิกภาพสถานภาพวัฒนธรรม เจตคติ โครงสรางครอบครัวและการมีกิจกรรมในสังคม