Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Differential diagnosis - Coggle Diagram
Differential diagnosis
Hematotoxin
เป็นพิษที่ทำลายผนังด้านในของหลอดเลือด ทำให้เม็ดเลือดแดงเล็ดลอดออกมาจากผนังหลอดเลือดที่ถูกทำลาย ผู้ป่วยจึงมีเลือดออกตามที่ต่างๆ
อาการ
เลือดไม่กลายเป็นลิ่มและมีเลือดออกตามที่ต่างๆ เช่น ตามไรฟัน รอยเข็มฉีดยา ตามผิวหนัง หรือแผลเก่า บางรายมีเลือดกำเดาไหล ไอเป็นเลือดหรือเลือดออกในสมองได้
เกิดการเต้นของหัวใจผิดปกติเมื่อตรวจหัวใจด้วยเครื่อง ECG จะพบมีการเปลี่ยนแปลงผู้ป่วยบางคนอาจเกิดไตวายได้ บางคนเกิดแพ้พิษงูเป็นแบบ anaphylactic reaction
สิ่งที่ตรวจพบ
-
-
-
-
-การตรวจระดับ BUN, creatinine, electrolyte เพื่อประเมินภาวะไตวายเฉียบพลัน
ข้อบ่งชี้ในการให้เซรุ่ม
- VCT นานกว่า 20 นาที
- จำนวนเกร็ดเลือด ต่ำกว่า 10 x 109 ต่อลิตร
- ขนาดของเซรุ่มแก้พิษงูที่ใช้คือ 30 มล. สำหรับความรุนแรงปานกลาง (moderate) และ 50 มล. สำหรับความรุนแรงมาก (severe). การติดตามผู้ป่วย
- ติดตามภาวะเลือดออก และ VCT ทุก 6 ชั่วโมง หากยังมีภาวะเลือดออก หรือ VCT ยังผิดปกติสามารถให้เซรุ่มแก้พิษงูซ้ำได้อีก จน VCT ปกติ
- หลังจากนั้นควรทำ VCT ซ้ำอีกประมาณ 24 ชั่วโมง โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมาก เนื่องจากบางรายอาจพบว่า VCT กลับมาผิดปกติได้อีก เกิดจากพิษงูยังคงถูกดูดซึมจากตำแหน่งที่งูกัดเข้าสู่กระแสเลือดอีก จำเป็นต้องให้เซรุ่มแก้พิษงูซ้ำ
- ในผู้ป่วยที่ถูกงูแมวเซากัด ติดตามการตรวจวัดปริมาณปัสสาวะทุก 6 ชั่วโมง
ข้อมูลสนับสนุน
- โดนงูเขียวหางไหม้กัดที่นิ้วชี้ขวา
- พบรอย frank mark 2 จุดบริเวณนิ้วชี้ขวา
ข้อมูลคัดค้าน
- ผล Venous clotting time ปกติ
-
-
-
- ปัสสาวะสีเหลืองใส ปัสสาวะไม่เป็นสีน้ำล้างเนื้อ
Neurotoxin
เป็นพิษที่ทำลายประสาท พบได้ในงูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม งูทับสมิงคลา และงูทะเล พิษชนิดนี้มีโมเลกุลขนาดเล็ก สามารถถูกดูดซึมได้รวดเร็วไปตามกระแสเลือด ทำให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผู้ป่วยเกิดหนังตาตก พูดไม่ชัด หายใจไม่สะดวก
อาการ
อาการทางประสาท (neurotoxicity)
- จะมีอาการหนักที่หนังตาบน ตาพร่า มองเห็นเป็นสองภาพ ชาที่ริมฝีปาก และมีน้ำลายมาก
- ต่อมาจะพบหนังตาตก ลืมตาไม่ขึ้น ตากลอกไปมาไม่ได้ ซึ่งจะเกิดภายใน 1-2 ชั่วโมงภายหลังถูกงูกัด
บางคนอาจนาน 6-10 ชั่วโมง
อาการแสดงต่อมาจะชัดเจนขึ้น โดยตรวจพบว่าผู้ป่วยพูดไม่ชัด อ้าปาก แลบลิ้นและเคี้ยวไม่ได้ และในที่สุดจะไม่สามารถหายใจ ยกแขนหรือขาไม่ได้อาการต่างๆ เหล่านี้จะกลับคืนสู่ปกติ ภายในเวลาเป็นชั่วโมงภายหลังได้รับเซรุ่มแก้พิษงู หรือยา anticholinesterase
-
การรักษา
- การช่วยการหายใจ เป็นหัวใจสำคัญของการรักษา ผู้ป่วยทุกรายควรได้รับการติดตามอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่าง ใกล้ชิด และตรวจ peak flow เป็นระยะๆ ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อเตรียมพร้อมการใส่ท่อช่วยหายใจ
- การให้เซรุ่มแก้พิษงู การให้เซรุ่มมีประโยชน์ลดเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจ แต่ไม่สามารถป้องกันการเกิดภาวะ หายใจล้มเหลว
ข้อมูลสนับสนุน
- งูกัด
- พบรอย frank mark 2 จุดบริเวณนิ้วชี้ขวา
ข้อมูลคัดค้าน
- good consciousness, GCS = E4V5M6,
- co-operative behavior,
- no sensation impairment,
- Deep Tendon Reflex ++,
- no slow relaxation of dorsiflexion
Myotoxin
-
อาการ
จะเกิดภายหลังได้รับพิษงูเข้าสู่ร่างกายภายในครึ่งถึง 3 ชั่วโมง อาการแรกที่พบคือ ปวดตามตัวและปวดที่ต่อมน้ำเหลืองเหนือส่วนที่ถูกกัด ต่อมาจะปวดกล้ามเนื้อมากโดยเฉพาะเวลาเคลื่อนไหว
สิ่งที่ตรวจพบ
- การตรวจระดับ BUN, creatinine, electrolyte
- การตรวจปัสสาวะ (urinalysis)
การรักษา
-
การรักษาที่สำคัญคือการรักษา ภาวะ rhabdomyolysis ไตวายเฉียบพลันและภาวะโพแตสเซียมในเลือดสูง พิจรณาการทำhemodialysis
ข้อมูลสนับสนุน
- งูกัด
- พบรอย frank mark 2 จุดบริเวณนิ้วชี้ขวา
ข้อมูลคัดค้าน
- งูเขียวหางไหม้
- Motor power
Right sided grade 5,
Left sided grade 5,
Normal tone