Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนเเปลงของผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนเเปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนเเปลงร่างกายผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายนอก
เศรษฐกิจ
ผู้ที่มีรายได้เป็นของตัวเอง เงินเดือน ดอกเบี้ย ย่อมสามารถเลือกอาหารที่ดีมีคุณภาพมากกว่าผู้สูงอายุที่มีข้อจำกัดเรื่องค่าใช้จ่าย
สิ่งเเวดล้อม
ผู้ที่อยู่ในสิ่งเเวดล้อมที่เสียงดังก็จะทำให้ผู้สูงอายุมีปัญหาเรื่องการได้ยิน หรือ มลพิษทางอากาศ
การศึกษา
การเกษียณงาน
ปัจจัยภายใน
กรรมพันธ์ุ
สุขภาพอนามัย
คนที่เเข็งเเรงจะสามารถปฏิบัติกิจกรรมต่างๆได้ดี ย่อมมีสุขภาพดี
การมองโลก
ความเชื่อ
การเปลี่ยนเเปลงทางกายภาพเเละสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
ระบบผิวหนัง(integumenttary system)
ผิวหนังบางลง ความเหนียวของหนังเพิ่มมากขึ้น เซลล์ผิวหนังมีจำนวนลดลง
เซลล์ที่เหลือ เจริญช้าลง อัตราการสร้างใหม่มาทดเเทนเซลล์เดิมลดลง ทำให้การหายของเเผลช้า
ผู้สุงอายุมักเกิดเเผลกดทับได้ง่ายเเละทนต่อความเย็นได้น้อย
ต่อมเหงื่อมีจำนวนเเละขนาดลดลง ดังนั้นการระเหยความร้อนจุงไม่ดี
ทำให้เกิดลมเเดด(heat stroke) ต่อมไขมันทำงานลดลงทำให้ผิวหนังเเห้งคันเเละเเตกง่าย
ผมเเละขนมีจำนวนลดลง อัตราการเจริญของผมเเละขนลดลงตามอายุ
ทำให้สีผมเเละขนทั้วไปสีจางลงกลายเป็นสีเทาหรือสีขาว เส้นผมร่วงง่าย
ปัญหาการได้ยินลดลง หูตึง (Presbycusis)
สาเหตุมาจากมีการเสื่อมของ organ of Corti และ basilar membrane ร่วมกับเส้นประสาทคู่ที่ 8 (auditoty nerve) เยื่อแก้วหูและอวัยวะในหูชั้นกลางแข็งตัวมากขึ้น
ระดับเสียงสูงมากกว่าระดับเสียงต่ำ
การมองเห็น
ลูกตามีขนาดเล็กลงและลึกเพราะไขมันของลูกตาลดลง หนังตามีความยืดหยุ่นลดลง ทําให้หนังตาตก รูม่านตาเล็กลง ปฏิกิริยา ตอบสนองของม่านตาต่อแสงลดลง
ทําให้การปรับตัวสําหรบั การมองเห็นในสถานที่ต่าง ๆ ไม่ดี โดยเฉพาะในสถานที่มืดหรือในเวลากลางคืน
ต้องอาศัยแสงสว้างช้วยมากกว้าคนในวัยหนุ่มสาว แก้วตาแข็ง ยืดหยุ่น ลดลง และเริ่มขุ่นมัวมีสีเหลืองมากขึ้น ทําใหเความสามารถเทียบสีลดลง จึงแยกสีที่คล้ายกันได้ยากขึ้น
โดยทั่วไปผู้สูงอายุสามารถแยกสีแดง สีส้ม และสีเหลือง
เซลล์สมอง
เซลล์สมองและเซลล์ประสาทมีจํานวนลดลง ขนาดของสมองลดลง ประสิทธิภาพของการทํางานของสมองและประสาทอัตโนมัติลดลง เ
เป็น เหตุให้ความไวและความรู้สึก ตอบสนองต่อปฏิกิริยาต่าง ๆ ลดลง
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal system)
เซลล์กระดูกลดลง แคลเซียมมีการสลายออกจากกระดูกมากขึ้น เนื่องจากแคลเซียมถูกดูดซึม จากลําไส้น้อยลง และมีการสูญเสียแคลเซียมมากขึ้น
กระดูกผู้สูงอายุจึงเปราะและหักง่า ยแม้ ไม่ได้รับอุบัติเหตุ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
หลอดเลือดของผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมมากขึ้น ผนังหลอด เลือดฝอยหนาขึ้น ทําให้การแลกเปลี่ยนอาหารและของเสียลดลง
ผนังหลอด เลือดมีความยืดหยุ่นน้อยลง เพราะมีเส้นใยคอลลาเจนมากข้ึน
ระบบภูมิคุ้มกันทํางานลดลง ทําให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
-ผู้สูงอายุจะมีความยืดหยุ่นของเนื้อปอดลดลง
ปอดยืดขยายและ หดตัวได้น้อยลง
-จํานวนถุงลมปอดลด ผนังถุงลมแตกง่าย เกิดถุงลมโป่งพองได้ง่าย
ระบบทางเดินอาหาร(DigestiveSystem)
การดูดซึมธาตุเหล็กและแคลเซียม ลดลงเนื่องจากการผลิตน้ําย่อยกรดเกลือลดลง ผู้สูงอายุจึงเกิดโรคกระดูกผุ และโรคโลหิตจางได้ง่าย
ผู้สูงอายุจึงเกิดโรคกระดูกผู้ และโรคโลหิตจางได้ง่าย
การ เคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารช้าลงเนื่องจากความตึงตัวของกล้ามเนื้อ และการทํางานของกล้ามเนื้อกระเพาะอาหารลดลง
ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
ฟันสึกกร่อน เคลือบฟันบางลง ฟันเปราะ บิ่นง่าย ฟันหลุดล่วงง่าย ต่อม
น้ําลายเสื่อมหน้าที่ทําให้การย่อยแป้งและน้ําตาลในปากลดลง
ปากและลิ้น
แห้งมีการติดเชื้อในปากมากขึ้น
การรับรสของลิ้นเสียไปทําให้เกิดภาวะเบื่อ
อาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ และระบบสืบพันธุ์ (Genitourinary System)
ไต ขับของเสียออกจากร่างกายได้ลดลง เนื่องจากขนาดและจํานวนของหน่วย
ไตลดลง
ผู้สูงอายุจึงมีความเสี่ยง
ต่อภาวะขาดน้ํา
ปัสสาวะบ่อยเนื่องจาก กระเพาะปัสสาวะจุได้น้อยลง
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
ต่อมธัยรอยด์มีเนื้อเยื่อพังผืดมาสะสมมากขึ้น การทํางานจึงลดลงทําให้ผู้สูงอายุจะเกิดภาวะhypothyroidism
ซึ่งพบในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทําให่มีอาการอ่อนเพลีย
เบื่ออาหารและน้ําหนักลดลงได้
ต่อมเพศทํางานลดลง จึงเป็นผลทําให้ไม่มีประจําเดือน ขนบริเวณรักแร้
และหัวเหน่าลดลง
ปัญหา สาเหตุเเละการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการชะลอความเสื่อมในวัยผู้สูงอายุ
1.อุบัติเหตุ แผลบริเวณผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการประคบร้อนหรือเย็นจัดเกินไป
จัด
สิ่งแวดล้อมที่อยู่อาศัยให้เป็นระเบียบ แสงสว่างเพียงพอ
ภายในบ้านควรมีราว
ยึดเกาะโดยเฉพาะห้องน้ํา เปลี่ยนท่าเดินช้า ๆ ไม่รีบร้อน
2.ภาวะเบื่ออาหาร ขาดสารอาหาร โลหิตจาง
เลือกรับประทานอาหารที่มีคุณค่าสูงครบทั้ง 5 หมู่
รักประทานอาหารที่มี
ธาตุเหล็กสูง ดูแลความสะอาดปากและฟัน ตรวจฟันทุก 6 เดือน
กระดูกเปราะและหักง่าย ปวดข้อ
รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
ออกกลังกายในสถานที่ที่มีแสงแดดอ่อน ๆ
อย่างสม่ําเสมอ บริหารข้อมากขึ้น
งดสูบบุหรี่และดื่มสุรา
หลีกเลี่ยง
ท่านั่งยอง ๆ พับเพียบ ขัดสมาธิ ลดน้ําหนัก ระมัดระวังเคลื่อนไหว
4.กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย ความดันโลหิตสูง สมองขาดเลือด
หลีกเลี่ยงความเครียดต่าง ๆ งดสูบบุหรี่และดื่ม
สุรา
หลีกเลี่ยงเหตุการณ์ตื่นเต้น ตกใจ
วัดความดันโลหิตเสมอ พักผู้อนเพียงพอ
5.การติดเชื้อในทางเดินหายใจและการสําลัก ถุงลมโป่งพอง หายใจ
ลําบากเหนื่อยง่าย
หลีกเลี่ยงการพูดขณะรับประทานอาหาร บริหารการ
หายใจมากขึ้น ดื่มน้ํามาก ๆ
แนะนําการฉีดวัคซีนป้องกันการ
ติดเชื้อทางเดินหายใจ
6.เบาหวาน
รับประทานอาหารแป้งและน้ําตาล
ลดลง ลดความอ้วน สังเกตอาการผิดปกติ เช่น ถ่ายปัสสาวะบ่อย ดื่มน้ํามาก
7.ท้องผูก
หลีกเลี่ยงความเครียดต่าง ๆ
หลีกเลี่ยงการใช้ยาถ่ายหรือยาระบายเมื่อจําเป็น
ดื่มน้ํามากขึ้น รับประทานผัก ผลไม้มากขึ้น
8.ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ถ่ายปัสสาวะลําบาก และ่บ่อย
บริหารกล้ามเนื้อในอุ้งเชิงกรานและกล้ามเนื้อหูรูดโดยการขมิบก้นบ่อย ๆ ดื่ม
น้ําอย่างเพียงพอโดยเฉพาะในตอนกลางวัน
เตรียมห้องน้ําให้อยู่ใกล้สะดวกใน
การใช้ สังเกตอาการถ่ายปัสสาวะลําบากถ่ามีอาการมากขึ้น
9.ต้อกระจก
ไม่ใช้สายตามากเกินไป แสงสว่างเพียงพอ
สังเกตอาการตามัว ถ่ามีอาการมากขึ้น ปรึกษาแพทย์เพื่อลอกต้อออก
10.การนอนไม่หลับ
ออกกําลังกายสม่ําเสมอ นอนกลางวัน
น้อยลง งดดื่มชา กาแฟ หลีกเลี่ยงการดื่มน้ําก่อนนอน
11.หูตึง
ตรวจหูปีละ 1 ครั้ง สังเกตอาการหูตึง ถ้าพบความผิดปกติให้รีบปรึกษาแพทย์
แนะนําการใช้เครื่องช่วยฟัง
12.ผิวแห้งแตกง่ายเหี่ยวย่น
หลีกเลี่ยงการอาบน้ําบ่อย ๆ หลีกเลี่ยงการใช้สบู่ ถ้าจําเป็นให็ใช็สบู่อ่อน ๆ ทา
ผิวหนังด้วยโลชั่น หลีกเลี่ยงการสัมผัสแสงแดด
13.ความไม่สมดุลของน้ําในร่างกาย
หลีกเลี่ยงการอยู่ในที่อากาศร้อนเพื่อป้องกัน
การสูญเสียน้ําออกจากร่างกาย
14.หนาวเย็น
ใส่เสื้อผ้าหนา ๆ ในวันที่มีอากาศหนาวเย็น
15.การติดเชื้อในอวัยวะสืบพันธุ์ เจ็บขณะร่วมเพศ
แนะนําการดูแลความสะอาดของอวัยวะสืบพันธุ์ ใช้สารหล่อลื่นขณะร่วมเพศ