Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย - Coggle Diagram
บทบาทของสตรีไทยในประวัติศาสตร์ไทย
ช่วงเวลานับแต่มีการบันทึกหลักฐานมาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
บทบาททางการเมือง
บทบาทด้านการปกครอง
ค.พระมหาเทวีล้านนา
พระมหาเทวีจิรประภา
ขึ้นครองเมืองเชียงใหม่เนื่องจากภาวะวิกฤตจากการแตกแยกและการคุกคาม
พระางสามารถนำทัพบ้านเมืองให้รอดพ้นจากภัยต่างๆ
มหาเทวีจุลกะเทวี
ผลักดันให้พระราชโอรสขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองเมืองเชียงใหม่ในขณะที่พระชนมายุ13พรรษา
พระมหาเทวีชนนีของพระเจ้าติโลกราช
คุมกองทัพรบเมืองแพร่เป็นการช่วยพระราชโอรสขยายอำนาจของล้านนา
พระองค์ทรงมีบทบาททางการเมืองร่วมกับพระโอรส
พระมหาเทวีสุทธิเทวี
ได้สถาปนาขึ้นเป็นกษัตริย์ปกครองเชียงใหม่ในช่วงที่ตกอยู่ในฐานะประเทศราชของพม่า
ง.แม่อยู่หัวสุดาจันทร์
ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินของพระยอดฟ้าพระราชโอรสที่ยังเป็นยุวกษัตริย์
ได้ขึ้นปกครองกรุงศรีอยุธยาคู่กับขุนวรวงศาธิราชพระสวามีใหม่
พระสนมเอกในสมเด็จพระไชยราชาธิราชแห่งกรุงศรีอยุธยา
จากการขาดฐานสนับสนุนและไม่เป็นที่ยอมรับของข้าราชสำนักจึงถูกยึดอำนาจ
ข.พระนางมหาเทวีสุโขทัย
จารึกในสมัยสุโขทัยปรากฎพระนามของพระน้องนางในพระมหาธรรมราชาที่ 1
บทบาทในการปกครองเมืองสองแคว(พิษณุโลก)
ทรงอยู่ในฐานะพระเทวีขุนหลวงพระงั่ว
ก.พระนางจามเทวี
ปฐมกษัตริย์แห่งนครหริภุญชัย
พระราชธิดาของกษัตริย์ทวารวดีแห่งเมืองละโว้
ได้รับการเชื้อเชิญมาปกครองเมืองหริภุญชัย
ได้รับความอุปถัมภ์ทำนุบำรุงกิจการทางพระพุทธศาสนา
จ.กรามหลวงโยทาเทพ(เจ้าฟ้าศรีสุพรรณ)
ทรงมีอิทธิพลอำนาจสิทธิ์ขาดปกครองดูแลราชสำนักฝ่ายใน อาจมีอิทธิพลถึงฝ่ายหน้าโดยผ่านทางภริยาของขุนนางผู้ใหญ่
เจ้านายสตรีที่มีบทบาทสูงสุดทางด้านการบริหารสมัยรัตนโกสินทร์
สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ผู้สำเร็จราชการแผ่นดินในระหว่างร.5เสด็จประพาสยุโรป 2440
พระอัครมเหสีในรัชกาลที่ 5
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนีพันปีหลวง
ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์เมื่อร.9ทรงออกผนวช
สมัยรัชกาลที่ 9
Subtopic
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนี
ดำรงตำแหน่งเมื่อ ร.9เสด็จเยืนอต่างประเทศ
ได้รับการเฉลิมพระเกียรติ จัดเก็บส่วยอากรขนอนตลาด มีเลกสมสังกัด
บทบาทในด้านการรบและการทำสงคราม
ก.สตรีศุงศักดิ์แหงล้านนา
พระมหาเทวีผู้เป็นชนนี ได้นำไพร่พลเข้าต่าสู้กับข้าศึกทั้งๆที่กำลังตั้งครรภ์
ข.สมเด็จพระสุริโยทัย
พระองค์โดยสมเด็จพระสวามีในการปกป้องบ้านเมืองจากพม่า
ถูกพระเจ้าแปรฟันด้วยพระแสงของ้าวสิ้นพระชนม์
ค.เจ้าศรีอโนชา
พระอัครชายาของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท
พระขนิษฐาของเจ้ากาวิละแห่งนครลำปาง
เกิดกบฎพระยาสรรค์ยึดกรุงธนบุรี เจ้าศรีอโนชารวบรวมบริวารปกป้องครอบครัวและช่วยเหลือพระยาสุริยอภัย
ป้องกันเหตุวุ่นวายในกรุงธนบุรี ร่วมมือกับพระยาเจ่ง
ง.รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช
แต่งตั้งคุณหญิงจันและคุณมุกเป็นท้าวเทพกระษัตรีและท้าวศรีสุนทร
คุณหญิงจันและคุณมุก นำประชาชนต่อต้านพม่าที่มาตีเมืองถลางในสงครามเก้าทัพได้รับชัยชนะ
จ.รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
คุณหญิงโม ได้วางแผนต่อสู้กับกองทัพเจ้าอนุวงศืแห่งเวียงจันทร์
ได้รับบำเหน็จความชอบแต่งตั้งให้เป็นท้าวสุรนารี
สตรีที่มีบทบาทเกี่ยวข้องด้านการเมืองการปกครองทั้งในราชวงศ์หรือสำนัก การเมืองระหว่างรัฐ เพื่อสร้างความมั่นคงและความสงบในประเทศ ตลอดจนเพื่อความอยู่รอดของพระราชวงศ์
บทบาทในการเสริมสร้างสัมพันธไมตรีทางเครือญาติ
ข.การแสวงหาพันธมิตร
มีการเจริญสัมพันธไมตรีกับกรุงศรีสัตนาคนหุตล้านช้าง
ค.เมื่อตกอยู่ใต้อำนาจอาณาจักรอื่น
การสร้างสัมพันธไมตรีจะเป็นการถวายพราะราชธิดา
ก.การส่งเสริมสัมพันธไมตรี
การปูนบำเหน็จแก่บุคคลที่สร้างความดีความชอบต่อบ้านเมือง
สร้างความเป็นเครือญาติทั้งในและนอกราชอาณาจักร
ง.เมื่อมีการเปลี่ยนผู้นำ
การประสานสัมพันธไมตรีผ่านการแต่งงานระหว่างผู้นำใหม่และสตรี
การยอมรับในอำนาจเพื่อสร้างความชอบธรรมในการสืบราชบัลลังก์
บทบาททางสังคม
ด้านวรรณกรรม
ข.พระเข้าบรมวงศ์เธฮ พระกุกรมหลวงนรินทรเวที
ทรงนิพนะ์จดหมายเหตุความทรงจำบันทึกเหตุการ์การเสียกรุงแก่พม่า
ก.เจ้าฟ้ากุณฑลและเจ้าฟ้ามงกุฎ
พระราชนิพนะ์บทละครเรื่องดาหลังและอิเหนา
ค.พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้ามณฑา พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอุบล
นิพนธ์กุมารคำฉันท์
ตัวอย่างสตรีไทยมีการศึกษาที่รุ่งเรืองมาแต่โบราณ
ง.คุณพุ่ม (บุษบาท่าเรือจ้าง) และคุนสุวรรณ
ได้รับการยกย่องว่าเป็นกวีหญิง
เพลงยาวบวงสรวงสระน้ำที่บางโขมด และอุณรุทร้อยเรื่อง
ด้านศาสนา
สละพระราชทรัพย์เพื่อก่อสร้างและปฏิสังขรณ์พระอาราม พระพุทธรูป และทพนุบำรุงพระภิกษุสงฆ์เป็นประจำ
การกัลปนาข้าคนให้เลกวัดเพื่อช่วยปฏิบัติกิจต่างๆให้แก่ภิกษุสงฆ์และพระอารามทั้งปวง
ด้านการศึกษา
ก.เจ้าฟ้าฟินทวดี
ทรงรอบรู้เชี่ยวชาญในขนบธรรมเนียมโบราณราชประเพณี
พระราชธิดาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ
ทรงเป็นกำลังสำคัญในการจัดทำตำราโบราณราชประเพณี ที่ำระเรียบเรียงขึ้นใหม่ในรัชกาลที่ 1
ข.พระองค์เจ้า(พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงวรเสรฐสุดา)
ได้รับการยอมรับว่ามีความเชี่ยวชาญ แตกฉาน รอบรู้ในวิชาการต่างๆ เช่น ตำนานโคลง ฉันท์ กาพย์
อาจารย์สอนวิชาความรู้เบื้องต้นให้บรรดาพระราชโอรส พระราชธิดาในร.4
พระราชธิดาในรัชกาลที่ 3
สมัยรัชกาลที่ 5 ถึงสงครามโลกครั้งที่ 2
กลุ่มพระมเหสีเทวีของรัชกาลที่ 5
ค.สมเด็จพระปิตุจฉาเจ้าสุขุมาลมารศณี พระอัครราชเทวี
ได้รับไว้วางใจในการตำรงตำแหน่งเลขาณุการฝ่ายใน
พระราชนิพนธ์ สุขุมาลนิพนธ์
ทรงเชี่ยวชาญด้านอักษรศาสตร์
จัดให้วัดบางขุนพรหมเป็นแหล่งศึกษาที่ทันสมัยสำหรับสตรีชั้นสูงศักดิ์ในสมัยนั้่น
สร้างอาคารเรียนแก่วัดพิชยญาติการามวรวิหาร
ง.พระอรรคชายาเธฮ พระองค์เจ้าสายสวลีภิรมย์
จัดพิมพ์หนังสือที่มีคุณค่าพระราชทานในวาระต่างๆ
อุทิศพระราชทรัพย์จัดสร้างโรงเลี้ยงเด็กกำพร้าและสงเคราะห์ผู้ยากจน
มีความเชี่ยวชาญด้านโภชนาการ
ได้รับการสืบสานต่อโดยพระราชธิดา สมเด็จเจ้าฟ้านิภาภดล
ทรงพระปรีชาด้านอักษรศาสตร์
ดำรงตำแหน่งเลขานุการในพระองค์เมื่อปลายรัชกาลที่ 5
สำนักของพระองค์เป็นแหล่งประสิทธิ์ประสาทวิชาแม่เรือนที่สำคัญสำหรับกุลสตรี
ข.สมเด็จพระนางเจ้าสว่างวัฒนา พระบรมราชเทวี
การจัดตั้งโรงพยาบาลสมเด็จ ณ ศรีราชา
สอนหนังสือและอาชีพแก่ชาวบ้าน โดยเฉพาะการทอผ้า เปิดช่องทางการทอผ้าในพระราชวังดุสิต
จ.พระราชราชายาเจ้าดารารัศมี
สนับสนุนการก่อตั้งโรงเรียนต่างๆในเชียงใหม่
ทดลองปลุกพืชเมืองหนาวและไม่ดอกไม้ประดับ
เป็นผู้เชื่อมความสัมพันธ์และวัฒนธรรมของดินแดนทั้งสองเป็นเอกภาพ
ให้ความอุปถัมภ์ศิลปะและหัตถกรรมพื้นบ้าน
ก.สมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี พระบรมราชินีนาถ
ด้านการศึกษา
บริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์จัดตั้งโรงเรียนสตรีขึั้นหลายแห่งในกรุงเทพและหัวเมือง
เจ้านายจากราชสกุลบางองค์ยังมีคุณู)การต่อการศึกษษของสตรี
ตระหนักถึงความสำคัญด้นการศึกษาสำหรับกุลสตรีไทย
ด้านสาธารณสุขและการแพทย์
สนับสนุนการคลอดแบบตะวันตก
การก่อตั้งโรงเรียนผดุงครรภ์ขึ้นในโรงพยาบาลศิริราชเพื่อผลิตนางพยาบาลสำหรับการคลอดแบบใหม่
ก่อตั้งสภากาชาดไทยโดยท่านผู้หญิงเปลี่ยนภาสกรวงศ์ เป็นผู้ดำเนินการ
โปรดให้สร้างรู)พระแม่ธรณีบีบมวยผมที่เชิงสะพานพิภกลีลา เพื่อให้ปวงชนมีน้ำบริสุทธิ์บริโภค
ด้านการปกครอง
เสด็จเป้ฯประธานในพระราชพิธีสำคัญ
เสด้๗ออกให้แขกเมืองเข้าเฝ้า
ได้รับการสถาปนาเป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินแสดงถึงความไว้วางใจในพระปรีชาสามารถ
ฉ.เจ้าจอมมารดาเทพ
ปรับปรุงภาพลักษณ์ แก้ไขนโยบายต่างๆให้ทันสมัย
ส่งเสริมด้านสาธารณสุขด้วยการจัดตั้งสุขศาลาให้การสงเคราะห์แก่ประชาชนทั่วไป
พระสนมเอกในรัชกาลที่4
กลุ่มสตรีที่ได้รับการศึกษาแผนใหม่
ด้านการแพทย์และสังคมสงเคราะห์
ข.แพทย์หยิ. ดร.คุณเพียร เวชบุล
บำบัดรักษาโรคและป้องกันกามโรคทั้งบุรุษและสตรีขายบริการ
อุทิศทั้งกำลังกายและกำลังทรัพย์ช่วยเหลือสตรีที่ประสบปัญกาชีวิตครอบครัว
ตั้งสถานรับเลี้ยงเด็กกำพร้านอกสมรส
ผู้ร่วมก่อตั้งบ้านเกร็ดตระการของกรมประชาสงเคราะห์
ค.ท่านผู้หญิงละเอียด พิบูลสงคราม
ด้านสังคมสงเคราะห์
จัดกิจกรรมที่เป็นประโยชน์แก่สตรีและเยาวชน
ตั้งโรงพยาบาลสงเคราะห์หญิงมีครรภ์และบุตร
ตั้งสโมสรวัฒนธรรมฝ่ายหญิง
ด้านการเมือง
ได้รับแต่งตั้งเป็นวุฒิสมาชิกและได้รับเลือกตั้งเป็นสภาผู้แทนราษฎรจ.นครนายก
ผลักดันให้มีการสร้างโรงเรียน3แห่ง
พยายามยกสถานภาพของสตรี
ก.หม่อมเจ้าหญิงมัณฑารพ กมลาศน์
ทรงศึกษาวิชาพยาบาลที่โรงเรียนการพยาบาลสภากาชาดสยาม
รับหน้าที่บริหารโรงเรียนพยาบาลและสถานการพยาบาล
มีพระปรีชาสามารถด้านการศึกษา สอบชิงทุน
จัดระเบียบแบบแผนการรักษาพยาบาลและปรับมาตรฐานการศึกษาให้ทันสมัย
ด้านการประกอบอาชีพและกิจกรรมสังคม
ค.ท่านผู้หญิงเปลี่ยน ภาสกรวงศ์
จัดพิมพ์ตำรา เม่ครัวหัวป่าก์ เป็นตำราอาหารคาวหวานทั้งไทยและต่างประเทศเล่มแรก
สนับสนุนการพัฒนาสถานภาพของสตรีในพระราชดำริของสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภาผ่องศรี
ง.ท่านผู้หญิงตลับ สุขุม
ร่วมก่อตั้งโรงเรียนเบญจมราชูทิศที่ถนนบำรุงเมือง
เป็นตัวแทนของสตรีในยุคหัวเลี้ยวหัวต่อที่สามรถปรับตัวเข้าสู่การสมนาคมระดับสูงในวงการฑูตของอังกฤษ
จ.กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพด้านกฎหมาย
ดำเนินการเรียกร้องสิทธิสตรีและยกระดับสถานภาพให้ทัดเทียนบุรุษ
ฉ.กลุ่มสตรีที่ประกอบอาชีพกดานการศึกษา
สตรีบางท่านมีบทบาทในวงการหนังสือพิมพ์
มีส่วนรวมในการพัฒนาประเทศชาติจนมีความั่นคง
ข.หม่อมศรีพรหมมา กฤดากร(เจ้าสรีพรหมมา ณ น่าน)
ได้รับการศึกษาและเติบโตที่ยุโรป
นำเทคโนโลยีและวิถีชีวิตแบบตะวันตกมาประยุกต์ใช้ในฟาร์มและครอบครัว
เป็นผู้นำพระสวามีเมื่อประสบปัญหาการเมือง
ช.สตรีจากราชสกุลกุญชร
การเขียนนวนิยาย ทรงคุณค่าด้านภาษาและเนือ้หาสะท้อนภาพสงัคมไทย
ก.หม่อมเจ้าหญิงพูฯพิศฒัย ดิศกุล
มีส่วนรวมก่อตั้งองค์การพุทธศาสนิกสัมพันธ์แห่งโลก ดำรงตำแหน่งประธานองค์กรนี้เป็นระยะยาว
ทรงรอบรู้ทางด้านดารเมือง เรื่องต่างประเทศ ศิลปวัฒนธรรม
ซ.หม่อมหลวงพวงร้อย(สนิทวงศ์)อภัยวงศ์
มีความโดดเด่นด้านดนตรีและได้ประพันธ์บทเพลงที่ไพเราะและทรงคุณค่าไว้มากกว่า 120 เพลง