Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
F25.2 Schizoeffective,mixedtype จิตเภทแบบอารมณ์เปลี่ยนแปลงชนิดอาการร่วมกัน…
F25.2 Schizoeffective,mixedtype จิตเภทแบบอารมณ์เปลี่ยนแปลงชนิดอาการร่วมกัน
-
คุณต่าย (นามสมมติ) อายุ 28 ปี 10 เดือน General Appearance : รูปร่างท้วม น้ำหนัก 77 กิโลกรัม ส่วนสูง 161 เซนติเมตร สวมแว่นตา ผมยาว ผิวสองสี รู็ตัวรู้เรื่องดี ถามตอบตรงคำถาม ไม่มีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรง มีปฎิสัมพันธภาพกับผู้อื่นดี Staging : Moderate มารับการรักษาเป็นครั้งที่ 2
Chief Complaints : พูดคนเดียว วุ่นวาย สับสน เดินแก้เสื้อผ้าในห้อง ทุบตีกำแพง 1 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล Present Illness : 2 สัปดาห์ก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการเหม่อผิดปกติ วึ่นว่าย รื้อข้าวของ พูดงึมงำไม่ได้ใจความ ตอบไม่ตรงคำถาม เข้ารักษาที่โรงพยาบาลบีแคร์ R/O drug overdoes อาการไม่ดีขึ้น มีพูดคนเดียว เดินแก้ผ้าในห้อง ทุบตีกำแพง จึง refer มารักษาที่โรงพยาบาลศรีธัญญา Past Illness : รักษาจิตเวชที่โรงพยาบาลศรีธัญญาและโรงพยาบาลบีแคร์ 5 ปี รับประทานยาต่อเนื่อง
อาการโรคจิตเภท
อาการหลงเชื่อผิด
เป็นความเชื่อของผู้ป่วยที่ผิดไปจากความเป็นจริง เช่น คิดว่าคนอื่นจะมาทำร้าย ระแวงว่าตนจะถูกวางยาพิษ คิดว่าตนส่งกระแสจิตได้
ความคิดผิดปกติ
ผู้ป่วยคิดแบบมีเหตุผลอย่างต่อเนื่องไม่ได้ ทำให้คุยกับคนอื่นไม่เข้าใจ ผู้ป่วยมักพูดไม่เป็นเรื่องราว พูดไม่ต่อเนื่อง เปลี่ยนเรื่องพูดโดยไม่มีเหตุผล
ประสาทหลอน
โดยผู้ป่วยคิดว่ามีบางสิ่งเกิดขึ้น ทั้งๆ ที่ ความจริงไม่มีสิ่งเหล่านั้นเกิดขึ้น เช่น ได้ยินเสียงคนมาพูดด้วยทั้งๆ ที่ไม่มีใครพูดด้วย (หูแว่ว) มองเห็นวิญญาณ (เห็นภาพหลอน)
มีพฤติกรรมผิดปกติ
โดยมักเกี่ยวข้องกับความคิดและความเชื่อที่ผิดปกติ เช่น ทำร้ายคนอื่น อยู่ในท่าแปลกๆ ซ้ำๆ หัวเราะหรือร้องไห้สลับกันเป็นพักๆ
มีอาการเฉียบพลัน มีอารมณ์เศร้าร่วมกับเบื่ออาการ นอนไม่หลับ คิดช้า คิดว่าตนมีความผิด เบื่อชีวิต อยากตาย มีอัตราการฆ่าตัวตายสูงกว่าโรคจิตเภทชนิดอื่น
Positive symptoms ประสาทหลอน หูแว่ว ได้ยินเสียงผิดปกติ มีเทพอยู่ในร่างกายคอยสั่งให้ทำสิ่งต่างๆ ความคิดผิดปกติ พูดไม่ได้ใจความ ไม่เป็นเรื่องราว พฤติกรรมผิดปกติ ร้องไห้สลับหัวเราะ
Negative symptoms สีหน้าอารมณ์เฉยเมย ซึม เฉยชา ไม่พูด แยกตนเอง ไม่มีสัมพันธภาพ ไม่ยินดียินร้าย เฉื่อยชา
-
-
-
NURSING DIAGNOSIS
- ไม่สุขสบายเนื่องจากมีอาการข้างเคียงจากการรับประทานยากลุ่ม Anti-psychotic drug
- Disturbance sleep pattern related to environmental barrier
- Impaired Social interaction related to disturbance in self-concept
- การเผชิญปัญหาไม่เหมาะสมเนื่องจากบกพร่องด้านการจัดการอารมณ์
- บกพร่องในการดูแลตนเองเนื่องจากมีความผิดปกติในการรับรู้ ความคิด การตัดสินใจ
- Risk for Self-Mutilation related to psychotic disorder
- Risk for suicide related to history of suicide attempt (NANDA P.855)