Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาในขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงสรีรวิทยาในขณะตั้งครรภ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
กระเพาะปัสสาวะ จะมีความจุลดลง จำนวนปัสสาวะค้างเพิ่มมากขึ้น
หลังการถ่ายปัสสาวะ ทำให้ต้องปัสสาวะบ่อยและอาจมีปัสสาวะราดได้บ่อย
ต่อมลูกหมาก จะหนาตัวขึ้นจนอุดตันท่อทางเดินปัสสาวะได้บ่อยๆ ทำให้หญิงตั้งครรภ์ปัสสาวะบ่อยโดยเฉพาะเวลากลางคืน ถึงกับทำให้นอนไม่หลับได้บ่อยๆและถ้าต้องเบ่งปัสสาวะมากเป็นเวลานาน ทำให้มีไส้เลื่อนหรือริดสีดวงทวารตามมา
ไต เป็นอวัยวะที่มีการเปลี่ยนแปลงในหญิงตั้งครรภ์ชัดเจนที่สุดอวัยวะหนึ่ง เพราะหญิงตั้งครรภ์เกือบทุกรายแสดงความผิดปกติในการทำงานของไต เมื่อร่างกายต้องการปรับสมดุลย์ของน้ำและกรดด่างในภาวะผิดปกติ น้ำหนักไตจะลดลงราว 20-30% โดยเฉพาะส่วนที่ทำให้หน้าที่กรองของเสียต่างๆออกไป ทำให้ร่างกายกำจัดยาออกจากร่างกายลดลง จึงเป็นอีปกปัจจัยที่ทำให้หญิงตั้งครรภ์เกิดภาวะพิษจากยาได้ง่ายจากบุคคลทั่วไป
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบทางเดินหายใจจะมีการเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาคอย่างค่อยเป็นค่อยไปตามอายุครรภ์ที่เพิ่มขึ้น
ผลของฮอร์โมน Estrogan และ Progasterone
ทำให้มดลูกขยายใหญ่ขึ้น
มดลูกที่มีขนาดโตขึ้นจะดันให้ระดับกระบังลมเลื่อนสูงขึ้นประมาณ 4 เซนติเมตรเส้นผ่านศูนย์กลางทรวงอกเพิ่มขึ้นประมาณ 2 เซนติเมตร Subcostal angal กว้างออกและเส้นรอบวงของทรวงอกเพิ่มขึ้นประมาณ 6 เซนติเมตร
ทำให้สตรีตั้งครรภ์รู้สึกหายใจลำบาก (Dyspnea
ส่งผลให้
ฮอร์โมน Estrogen
ทำให้เส้นเลือดฝอยในทางเดินหายใจมีเลือดคั่ง (Vascular congastion) และมีอาการบวมของทางเดินหายใจส่วนบน
ทำให้สตรีตั้งครรภ์รู้สึกคันจมูก มีเลือดออกทางจมูก Epistaxis
และมีการติดเชื้อระบบทางเดินหายใจส่วนบนได้ง่าย
ฮอร์โมน Progasterone
Progasterone ทำให้ศูนย์การหายใจมีความไวต่อคาร์บอนไดออกไซด์ สตรีตั้งครรภ์จะมีการหายใจลึกและยาว
ร่างกายมีภาวะ Raspiratory alkalosis
ส่งผลให้การแลกเปลี่ยนออกซเจนและคาร์ไดออกไซด์
ระหว่างมารดาและทารกได้ดีขึ้น
เกิดการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมฝอย (Bronchiole smooht muscle)
และการคลายตัวของกล้ามเนื้อและกระดูกอ่อนในบริเวณทรวงอกอัตราการหายใจ
การแลกเปลี่ยนแปลงของปริมาตรอากาศที่สูบเข้าและออกในแต่ละครั้งที่หายใจเข้า-ออก (Tidal volume) เพิ่มขึ้นตลอดการตั้งครภ์
ปริมาณอากาศที่แลกเปลี่ยนต่อหนึ่งนาที (Minute ventilation) เพิ่มขึ้นร้อยล่ะ 30-50 และปริมาณอากาศที่หายใจต่อหนึ่งนาทีเพิ่มขึ้นได้ถึง 10 ลิตร เมื่อครบกำหนดคลอด
ความจุของปอด (Vital capacity) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
การเปลี่ยนแปลงทางกายวิภาค
หัวใจจะยกสูงขึ้นและเอียงไปทางซ้ายวางตัวอยู่ในแนวนอนมากขึ้น
ทำให้ apex ชี้ไปทางด้านข้าง ซึ่งเกิดจากกระบังลมยกสูงเพราะอวัยวะในช่องท้องโโนมดลูกที่โตเบียดขึ้นมาด้านบน ทำให้กระบังลมถูกดันตัวให้ยกสูงขึ้นด้วย ขนาดของหัวใจโดยรวมโตขึ้นร้อยละ 12 จากกล้ามเนื้อหัวใจที่หนาขึ้นและปริมาตรภายในที่เพิ่มขึ้นตามมา โดยปริมาณ 80 มิลลิลิตร
การเปลี่ยนแปลงการทำงาน
Cardiac output เพิ่มขึ้นร้อยละ 30-50 เพิ่มสูงสุดในช่วงอายุครรภ์ 20-24 สัปดาห์ โดยกว่าครึ่งหนึ่งเกิดตั้งแต่ ในไตรมาสแรก ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่มของ stroke volume ส่วนในช่วงครึ่งหลังเป็นผลจากการเพิ่มขึ้นของ heart rate ในขณะที่ stroke volume ลดลงสู่ปกติ
Blood pressure จะลดลงในระหว่างการตั้งครรภ์ ตั้งแต่อายุครรภ์ 8 สัปดาห์ จนต่ำสุดในช่วง 24-28 สัปดาห์ ซึ่ง diastolic จะลดลงมากกว่า systolic ลดลงถึง 10 mmHg และจะกลับมาสู่ระดับปกติตอนอายุครรภ์ 36 สัปดาห์
Blood volume การขยายปริมาตรของเลือดเริ่มต้นตั้งแต่อายุครรภ์ 6-8 สัปดาห์ และจะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในไตรมาสที่สองและค่อย ๆ คงที่ในไตรมาสสุดท้ายที่อายุครรภ์ 30-32 สัปดาห์ เพิ่มสูงสุดคิดเป็นร้อยละ 45
Peripheral vascular resistance จะลดลงในไตรมาสแรก ลดลงต่ำสุดร้อยละ 34 ในช่วงอายุครรภ์ 14 สัปดาห์ และจะค่อยๆเพิ่มขึ้นเมื่อครรภ์ครบกำหนด
Stroke volume เปลี่ยนแปลงตามปริมาตรของเลือดที่เพิ่มขึ้น และ Systemic vascular resistance ที่ลดลงจากการคลายตัวของกล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด
Heart rate เพิ่มขึ้นในระหว่างตั้งครรภ์ ประมาณ 15 bpm/min ทั้งนี้อาจสูงอีกถ้ามีปัจจัยกระตุ้นอื่นๆ เช่น ออกกำลังกาย เครียด การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ หรือยา