Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีผู้สูงอายุ, น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก ปี2 รุ่น 37 เลขที่ 91 …
ทฤษฎีผู้สูงอายุ
ประกอบด้วย 2 ทฤษฎี
มีดังนี้
ทฤษฎีทางชีวภาพ (Biological Theories)
ประกอบไปด้วยทฤษฎี ดังต่อไปนี้
1.1 ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical Theory)
อธิบายว่า
ความสูงอายุเกิดจากการสะสมสารที่เกิดจากการเผาผลาญ
ไขมัน
โปรตีน
คาร์โบไฮเดรต
การได้รับการกระตุ้นจากความร้อน แสง และรังสี
เป็นโมเลกุลที่ขาดออกซิเจนที่ขาดอิเล็กตรอนไปหนึ่งตัว
ทำให้
ออกซิเจนเป็นลบ
มีความไวต่อการเกิดปฏิกิริยาอิเล็กตรอนสูง
เมื่อมีอนุมูลอิสระจะเข้าทําลายโปรตีน
เอ็นไซด์ และ DNA
ทำให้
อวัยวะมีความเสื่อมลง
ร่างกายทําหน้าที่ลดลง
แนวคิดใหม่ที่สอดคล้อง คือ
ทฤษฎีจํากัดพลังงาน
จะช่วยชะลอกระบวนการเผาผลาญในร่างกายให้ช้าลงโดยเฉพาะไขมัน
1.2 ทฤษฎีสะสม (Accumulation Theory)
อธิบายว่า
เกิดจากสารไลโปฟัสซิน (Lipofuscin)
เป็นสารสีเหลืองที่ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน
พบใน
เซลล์ของกล้ามเนื้อหัวใจ
ตับ
เส้นประสาท
เป็นผลผลิตของการเผาผลาญไขมันไม่อิ่มตัว
1.3 ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross - Linking Theory)
หรือทฤษฎีคอลลาเจน (Collagen Theory )
อธิบายว่า
โปรตีนบางตัวจะไขว้ขวางกันและอาจขัดขวางการเผาผลาญ
โดยอุดกั้นทางเดินระหว่างภายนอกกับภายในเซลล์ของสารอาหารและของเสียที่เกิดขึ้น
สารไขว้ขวาง เช่น
คอลลาเจน
อิลาสติน
สารที่อยู่ภายในและนอกเซลล์
พบมากใน
3 more items...
เมื่อเนื้อเยื่อคอลลาเจนมีการเปลี่ยนแปลง
ทำให้
มีลักษณะแข็ง
แตกแห้ง
สูญเสียความยืดหยุ่น
เป็นผลให้เกิดความเสื่อมของอวัยวะ
1 more item...
1.4 ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory)
เมื่อมีการใช้อวัยวะนานๆ หักโหม ทำให้เมื่ออายุมากขึ้น จะทำให้
เซลล์ตาย
เนื้อเยื่ออวัยวะและระบบต่างๆเสื่อม
เช่น
หลอดเลือด
ข้อเข่า
1.5 ทฤษฎีพันธุกรรม (Genetic Theory)
เชื่อว่า
อายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม
มนุษย์สามารถคาดอายุขัยได้
ถ้าพ่อ-แม่-ปู่-ย่า-ตา-ยาย อายุยืน ลูกก็อายุยืน
1.6 ทฤษฎีระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน
(Neuroendocrine-Immunologic Theory)
เชื่อว่า
ความสูงอายุเป็นผลร่วมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและระบบภูมิคุ้มกันที่ทําหน้าที่ลดลง
ถ้าภูมิคุ้มกันลดลง เมื่ออายุมากขึ้น ทําให้ติดเชื้อได้ง่าย
ความหมาย
อธิบายผลกระทบของความชราที่ทําให้ระบบการทํางานของอวัยวะในร่างกายทํางานลดลง
อธิบายความชราทางชีววิทยาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพในร่างกาย
2.ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (Phychosocial theory)
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องมี ดังนี้
2.1 ทฤษฎีการถดถอย (Disengagement Theory)
ผู้สูงอายุจะเห็นคุณค่าตนเองลดลง
ผู้สูงอายุจะแยกตัวเองออกจากสังคม
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ต้องดูแลผู้สูงอายุที่แตกต่างกัน
ควรจัดให้มีความรู้การเตรียมตัวก่อนการเกษียณ
สนับสนุนความรู้สึกมีคุณค่าเป็นสมาชิกในสังคม
2.2 ทฤษฎีการมีกิจกรรม (Activity theory)
คือ
ส่งเสริมการทํากิจกรรมต่อไป
ไม่ยอมรับการเป็นผู้สูงอายุเร็วเกินไป
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
สนับสนุนให้ผู้สูงอายุใช้ความสามารถทำกิจกรรมด้วยตนเอง
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุทำกิจกรรมต่อเนื่อง
2.3 ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Continuity Theory)
คือ
ผู้สูงอายุจะมีความสุขในการทำกิจกรรมขึ้นอยู่กับ
บุคคลิกภาพ
แบบแผนการดำเนินชีวิตในอดีต
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการตัดสินใจที่จะเลือก
ประเมินบุคคลิกภาพในอดีตของสมาชิกในชมรม
กระตุ้นให้ผู้สูงอายุมีนิสัยรักสนุก กระตือรือร้น
2.4 แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน
(Erikson's Developmental Tasks)
พัฒนกิจที่สําคัญในวัยผู้สูงอายุ ได้แก่
การปรับตัวต่อความเจ็บป่วย
การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง
การชื่นชมกับชีวิตในอดีต
การเตรียมตัวเองเข้าสู่วาระสุดท้ายของชีวิต
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทำความเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและปัญหาที่ผู้สูงอายุเผชิญ
สิ่งที่ผู้สูงอายุควรปฏิบัติคือ
หาความหมายของชีวิต
ปรับตัวต่อความสิ้นหวังให้คงไว้ซึ่งความรู้สึกเป็นตัวของตัวเอง
ใช้ชีวิตที่เป็นอิสระมากขึ้น
2.5 ทฤษฎีของเพค (Peck, Concept)
เกี่ยวกับ
การสร้างความรู้สึกมีศักดิ์ศรีในตนเอง
พอใจในตนเองในฐานะคนคนหนึ่ง
สิ่งที่ผู้สูงอายุควรปฏิบัติคือ
หาความสุขทางใจมากกว่าหมกมุ่นกับความจำกัดร่างกาย
มองอดีตที่ประสบความสำเร็จอย่างชื่นชม
การประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ชี้แนะให้ผู้สูงอายุมองอดีตอย่างชื่นชมแทนการมองอนาคตที่เหลืออยู่
น.ส.สุทธิกมล หนองเหล็ก ปี2 รุ่น 37 เลขที่ 91
รหัสนักศึกษา 62111301094