Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หัวข้อที่ 7 เรื่อง การสุขภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน - Coggle…
หัวข้อที่ 7 เรื่อง การสุขภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
การบริการพยาบาลอนามัยโรงเรียน
การจัดบริการ
ด้านวิชาการ จัดทำบันทึกข้อมูลปัญหาสุขภาพให้ความรู้พัฒนาตนเองได้อย่างต่อเนื่องและร่วมการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องประสานงานให้เกิดโครงการเสริมสร้างสุขภาพบุคลากรในโรงเรียน
ด้านการสร้างเสริมสุขภาพ
บันทึกการบริการติดตามสุขภาพประวัติการเจ็บป่วยตามข่าวต่างๆเกี่ยวกับสุขภาพอย่างเท่าทัน
ด้านสิ่งแวดล้อม จัดห้องให้เป็นระเบียบสะอาดอากาศถ่ายเทได้สะดวกร่วมมือกับหน่วยงานอื่น ๆภายในโรงเรียนได้ติดต่อประสานกับหน่วยงานที่ให้บริการทางสาธารณสุขในการจัดให้ถูกสุขลักษณะ
ด้านบริการ การประเมินภาวะสุขภาพการรักษาเรียนหรือบุคลากรมีปัญหาสุขภาพอย่างน้อยปีละครั้งที่ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิวัฒนาการในประเทศไทย
เริ่มแรกพุทธศักราช 2468 โดยพระราชดำริของสมเด็จพระชนกเจ้าฟ้ากรมหลวงสงขลานครินทร์ ทรงจัดตั้งแผนกสุขาภิบาลขึ้นในความดูแลกระทรวงธรรมการการเกี่ยวกับการอนามัยของนักเรียนตั้งแต่เริ่มแรก
ต่อมามีการปรับปรุงด้านความต้องการของประเทศจึงได้จัดการต่างๆสวนสาธารณะขึ้นสังกัดกรมอนามัยมีหน้าที่จัดการอนามัยโรงเรียนทั่วพระราชอาณาจักรทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค
โดยจะมีการกำหนดกิจกรรมที่ต้องปฏิบัติเป็น 5 ประเภทคือ1.การสุขภิบาล 2.การป้องกัน 3.การติดต่อสื่อสาร
4.การสุขศึกษา 5.การสถิติ
การสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
วัตถุประสงค์เพื่อ
1.ส่งเสริมสุขภาพด้านร่างกายให้แก่นักเรียน
ส่งเสริมสุขภาพด้านจิตใจให้กับนักเรียนปลอดภัยจาก
3.โรคภัยไข้เจ็บและอุบัติเหตุต่างๆ
4.ให้นักเรียนมีการปฏิบัติด้านสุขลักษณะได้ถูกต้อง
นำดื่ม นำใช้
น้ำประปา ได้จกน้ำมาดล น้ำพุ น้ำตก ทั้งนี้ต้องเป็นน้ำที่ได้รับการตรวจก่อนว่าเป็นน้ำที่มีคุณภาพมาตรฐานของกระทรวงธารณสุข จึงใช้ดื่มได้อย่างปลอดภัย
น้ำฝน จัดเป็นน้ำที่สะอาดที่สุดได้จกรรมชาติ โดยทั่วไปแล้วโรงเรียนที่ไม่มีน้ำประปาใช้คุณภาพที่ดี
น้ำบ่อ น้ำบ่อหรือน้ำบาดาลเป็นน้ำที่สะอาดพอพราะพวกแบคที่รีย เชื่อโรคและสิ่งสุกปรกที่ปนอยู่
น้ำพุ จัดทำน้ำดื่มให้อยู่ในรูปแบบของน้ำพุเป็นวิธีการที่เหมาะสบลำบากสำหรับโรงเรียนเพราะเป็นวิธีที่ช่วยให้ความปลอดภัยแก่นักเรียนและไม่ต้องจัดหาถ้วยหรือแก้วสำหรับดื่มน้ำ
2.ส้วมและที่ปัสสาวะ
โรงเรียนจะต้องมีส้วมและที่ปัสสาวะให้ถูกต้องตามหลักสุขาภิบาล แยกชายหญิง ควรอยู่นอกอาคารเรียนป้องกันไม่ให้มีกลิ่นรบกวนมีแสงสว่างเพียงพอส่วนที่ดิวใช้กันทั่วไปในโรงเรียนคือราดน้ำเรียกว่าส้วมซึม
3.การกำจัดน้ำโสโครกในโรงเรียน
จัดเป็นน้ำโสโครกในอาคาร ที่พักอาคารร้านค้าตามปกติถ้าปล่อยทิ้งไว้เป็นเวลานานนานจะมีกลิ่นเหม็นเป็นสาเหตุสำคัญได้
4.การกำจัดขยะ
โรงเรียนควรกำจัดขยะให้ถูกต้องอาจจะใช้วิธีกำจัดแบบเผาหรือฝังหรือเป็นปุ๋ยเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพล้อมและท้องถิ่นแต่โรงเรียนในเมืองอาจเลือกวิธีใช้รวบรวมและส่งให้เทศบาลไปกำจัดเอง
5.ห้องครัว
สถานที่มีคนอยู่ใกล้กับสิ่งโสโครกจัดให้มีแสงสว่างเพียงพอประตูด้านหน้าต่างใส่ลวดตาข่ายเพื่อป้องกันแมลงวันและสัตว์นำโรคมีระบบถ่ายเทอากาศที่ดี
6.โรงอาหาร
ควรจัดให้มีที่นั่งพอสำหรับนักเรียนจัดให้มีน้ำสะอาดดื่มหลังใช้ภาชนะมีการรับเศษอาหารที่ถูกต้องอาหารที่พ่อค้าแม่ค้านำมาขายในโรงเรียนต้องเป็นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการถูกหลักอนามัยปลอดภัยจากสารพิษ
7.ห้องพยาบาล
เป็นสถานที่สำหรับให้นักเรียนป่วยพักผ่อนป่วยออกจากนักเรียนดีชั่วคราวก่อนไม่ให้โรคที่เป็นอยู่แพร่กระจายตรวจสุขภาพเป็นสถานที่สำหรับสาธิตและฝึกปฏิบัติงานอนามัยชุมชนแก่นักเรียน
ลักษณะห้องพยาบาลที่ดี
อยู่ชั้นล่างของอาคารเพื่อความสะดวกในการป่วยน้อยกว่า 6 เมตรเพื่อประโยชน์ในการวัดสายตาจากสิ่งรบกวนอาจมีแสงสว่างเพียงพออากาศถ่ายเท มีเครื่องล้างมือในห้องพยาบาล โรงเรียนมีนักเรียนเกิน 1000 คนหรือตื่น 40 ห้องควรมีเรือนพยาบาลแยกต่างหาก
ยาปฐมพยาบาลที่ควรจัดไว้ประจำโรงเรียน
ยาธาตุนำแดง (Stomachica) พาราเซกตามอล
แอมโมเนียหอม ขี้ผึ้ง
โพวิดีน ขี้ผึ้งผิวราโซล
ยารักษากลากเกลื่อน ยารักษาแผลไฟไหม้นำร้อนลวก
น้ำเกลือนอร์มัล แอลกอฮอล์ 70%
ด่างทับทิม ยาหยอดหู
ข้อระวังในการใช้ยาในงานโรงเรียน
1.ครูหรือพยาบาลประจำโรงเรียนควรเป็นผู้หยิบยาให้กับนักเรียน
2.ยาต่างๆเมื่อใช้แล้วบางรายอาจมีอาการแพ้ได้โดยเฉพาะยาภายนอก หลังการให้ยาให้สังเกตุอาการผิดปกติถ้าผิดปกติต้องหยุดให้ยาทันที
3.ยาปฐมพยาบาลต้องใช้ให้ถูกต้องตามอาการเจ็บป่วยและในฉลาก
ความสำคัญและความจำเป็นของการบริการพยาบาลอนามัยโรงเรียน
1.พัฒนาประชากรวัยเรียนในโรงเรียน
นักเรียนให้เป็นบุกกลที่มีคุณภาพทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา ความเมตตา คุณธรรมจริยธรรม สภาพลังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างมาก ส่งผลให้นักเรียนต้องเผชิญผลระทบต่อสุขภาพ ซึ่งพยาบาลอนามัยชุมชนเป็นผู้ดูแล และผู้ที่มีความรู้ความสามารถเป็นหลักสำคัญในการดูแลช่วยเหลือให้นักเรียนมีทักษะสุขภาพและทักษะชีวิตที่ดีเพื่อพัฒนาให้คุณภาพชีวิตของนักเรียนเติบโตงอกงามและเป็นคนที่มีคุณค่าทางสังคม
2.การให้บริการอนามัยโรงเรียน วัตถุประสงค์เพื่อให้
1.โรงเรียนผู้ปกครองหน่วยงานที่เกี่ยวข้องชุมชนมีการทำงานร่วมกันโดยผ่านกระบวนการของการมีส่วนร่วมที่ชัดเจน
2.นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนทุกคนได้รับการช่วยเหลือด้านสุขภาพอย่างทั่วถึงและถูกต้อง
3.นักเรียนได้รับการส่งเสริมด้านสุขภาพและรักษาชีวิตที่ดี
4.นักเรียนมีภาวะสามารถมีชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
การสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ความหมาย
การจัดการ ควบคุม ดูแล ปรับปรุง สิ่งแวดล้อมต่าง ๆในโรงเรียนให้อยู่ในสภาพที่ดีและถูกสุขลักษณะ เพื่อช่วยให้สามารถป้องกันโรคภัยไข้เจ็บและอุบัติเหตุแก่นักเรียน
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมสุขภาพด้านร่างกายแก่นักเรียน
ส่งเสริมสุขภาพด้านจิตใจและอารมณ์แก่นักเรียน
ช่วยให้นักเรียนปลอดภัยจากโรคภัยไข้เจ็บและอุบัติเหตุต่าง ๆ
ให้นักเรียนมีการปฏิบัติด้านสุขลักษณะได้ถูกต้อง เป็นตัวอย่างที่ดีต่อครอบครัวและ
หลักการการจัดการสุขาภิบาลและอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
ให้ปลอดภัยจากอุบัติเหตุ
ให้ปลอดภัยจากโรคติดต่อ
ให้เป็นสถานที่ที่นักเรียนจะได้รับความสุขสบาย เพื่อการส่งเสริมสุขภาพกายและจิตใจ
ให้เหมาะสมกับสรีรวิทยาของนักเรียนที่อยู่ในวัยกำลังเจริญเติบโต
9 องค์ประกอบในการดำเนินการควบคุม ดูแล และปรับปรุงสภาวะต่าง ๆ ของโรงเรียนและสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ
สถานที่ตั้ง พื้นที่สร้างโรงเรียนหรือสถานที่ตั้ง
1.1 ไม่ควรห่างจกยานชุมขนเกินกว่า 2 กิโลเมตร และมีการคมนาคมสะดวก
1.2 เนื้อที่มีขนาตเหมาะสมกับจำนวนเด็ก และไม่เป็นพื้นที่เสียงต่อการเกิดอันตราย เช่น สถานที่ ขนถังแก๊ส ปั๊มน้ำมัน บริเวณที่มีสารพิษ มีมลภาวะอากาศ แสง
1.3 บริเวณพื้นที่ไม่สูงชันหรือสาดเรียงควรอยู่ใกล้ทางรถ เพื่อป้องอันตรายและปลูกต้นไม้ช่วยดูดซับมลพิษ
1.4 พื้นดินควรเป็นกินที่สามารถรับน้ำหนักอาคารได้อย่างเหมาะสม
2.อาคารเรียนการก่อสร้างอาคารเรียน
คำนึงถึงทิศทางลม การระบายอากาศ ในโรงเรียนรูปแบบของอาคารเรียน ควรเป็นรูป E,L,T,U,I เพื่อความสะดวกในการขยาย
บริหารงานต้องคำนึงถึงความคงทนแข็งแรงพอที่จะรับน้ำหนักนักเรียนบุคลากรและอุปกรณ์จำนวนมากอีกทั้งทนทานต่ออภัยธรรมชาติที่อาจเกิดขึ้นได้
3.พื้นที่ใช้สอยและอุปกรณ์เครื่องใช้
3.1 ห้องเรียน ควรเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาด 6 x 8 หรือ 7 x 9 เมตร จุนักเรียนได้ไม่เกิน 30-40 คน พื้นที่ห้องเรียนในโรงเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา ควรมีขนาด 1.5-20ตรางเมตรต่อเด็ก 1 คน
3.2 โต๊ะเรียนและเก้าอี้ โต๊ะต้องจัดขนาตให้เหมาะสมกับตัวเด็ก ความยาวของโต๊ะเรียนไม่ควรน้อยกว่า 70 เชนติเมตร หรือยาวเท่กับ 2 ศอก มีความกว้างประมาณ 35 เชนติเมตร พื้นโต๊ะควรมีความลาดประมาณ 15 องศา
3.3 การจัดวางโต๊ะเรียนและเก้าอี้ ทางเดินระหว่างแถวของโต๊ะควรกว้างไม่น้อยกว่า 45 เซนติเมตร แถวริมสุดจัดให้ท่างจากผนังไม่น้อยกว่า 60 เชนติเมตร
3.4 กระดานชอล์กหรือกระดานไวท์บอร์ด ควรทำด้วยวัสดุทนทาน ไม่มีรอยแตกร้าว กระดานไม้ทาสีด้วยสีเขียวแก่หรือดำ ติดไว้กับผนังห้อง
3.5 ห้องส้วมและที่ปัสสาวะ โรงเรียนต้องจัดให้มีส้วมและที่ปัสสาวะให้เพียงพอ สะอาดไม่อยู่ในที่ลับตา โรงเรียนสถานที่ศึกษาควรแยกส้วมสำหรับนักเรียนชายและนักเรียนหญิง
3.6 ห้องครัวและโรงอาหาร ควรปฎิบัติตามมาตรฐานการสุขภิบาลสำหรับโรงอาหารในโรงเรียน
สะอาด เป็นระเบียบ
โต๊ะ เก้า สะอาด แข็งแรง จัดเป็นระเบียบ
มีการระบายอากาศที่ดี
4.การระบายอากาศ แสงสว่างและเสียง
1.การระบายอากาศห้องเรียนควรจัดให้มีช่องลม ประตูหน้าต่างให้เพียงพอเพื่อเกิดการถ่ายเทอากาศทางธรรมาชาติให้มากที่สุด
2.แสงสว่าง ห้องเรียนควรมีแสงสว่างที่เหมาะสมเพื่อให้เด็กอ่านหนังสือให้สบายตา ควรใช้แสสว่างจากรรมชาติ ให้แสงเข้าทางซ้ายมือ ต้องไม่เป็นแสงจ้าหากใช้แสงสว่างจากไฟฟ้า ควรติดตั้งดวงไฟไว้ที่ผนังห้องเรียนติดต่ำจากเพดาน 3 ฟุต และมีโคมไฟซึ่งจะทำให้แสงไฟสะท้อนกลับไปยังโต๊ะเรียน ในหนึ่งห้องควรติดตั้งโคมไฟ 6-8 ดวง หรือจำนวนมากพอทีแสสว่างส่องถึงทุกจุด
3.เสียง ห้องเรียนที่ดีต้องออกแบบให้มีความสามารถป้องกันเสียงรบกวนได้ ภายในห้องเรียนไม่ควรมีระดับเสียงรบกวนเกินกว่า 35-40 เดซิเบล
5.น้ำดื่ม น้ำใช้
น้ำดื่มในโรงเรียนจะต้องสะอาดถูกสุขลักษณะและจัดให้เพียงพอกับจำนวนเด็กนักเรียนและบุคลากรทุกคนในโรงเรียน
6 การจัดการขยะ
6.1 ขยะเปียก เช่น เศษอาหาร พืช ผักต่าง ๆ ขยะประเภทนี้มีความขึ้นสูงประมาณ 4-70 % หากทิ้งไว้นานจะเกิดการเน่าเสีย สงกลิ่นเหม็นรบกวน และเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของแมลงและสัตว์พาหะนำโรค
6.2 ขยะแห้ง เช่น ขวดแก้ว ขวดพลาสติก กระดาษ กระป้อง โลหะ ขยะประเภทนี้ส่วนใหญ่สามารถนำกลับมาใช้ได้ใหม่
6.3 ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ แบตเตอรี่ ถ่านไฟฉาย กระป้องสเปรย์ ชยะประเภท น้ำควรแยกทิ้งจากขยะประเภทอื่นๆ
7.การจัดการน้ำเสีย
7.1 มีการระบายน้ำจากอาคารต่าง ๆควรมีการทำบ่อบำบัดน้ำเสีย
7.2 ระบายน้ำเสียในท่อบำบัดน้ำเสียและจัดทำเป้นบ่อซึม
7.3 น้ำเสียจากดรงครัวหรือโรงอาหาร จะมีคราบไขมันปนด้วยจึงควรทำบ่อตักไขมันเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำมันตกตะกอนในท่อ
8.การควบคุมและกำจัดแมลง สัตว์พาหะนำโรค โดยวิธีทางกายภาพและทางเคมี เช่น ใช้ตาข่ายดักใช้กาวดัด และดูแลสภาพแวดล้อมภายในโรงเรียนให้ถูกสุขลักษระเพื่อไม่ให้เป็นแหล่งเพาะพันธุ์แมลงและสัตว์นำโรค
สภาพแวดล้อมและความปลอดภัยในโรงเรียน
9.1 การจัดระเบียบการใช้สอยภายในอาคาร เช่น การจัดให้มีการขึ้นลงบันไดอย่างเป็นระเบียบ โดยการเดินชิดทางขวาเสมอ การจัดตู้ยให้เป็นหมวดหมู่ เครื่องใช้ไฟพีต่าง ๆ ทีใช้ในตัวอาคารจะต้องได้รับการตรวจสภาพอย่างสม่ำเสมออย่างน้อยทุก 6เดือน ติดตั้งปลั๊กไฟสูงจากพื้น 1.5 เมตร
9.2 การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ภายนอกอาคาร
ประตูโรงเรียนกรณีที่ทำด้วยเหล็กหรืออัลลอยด์ที่มีน้ำหนักมาก ควรได้รับการตรวจสภาพให้ตีอยู่เสมอมิให้ชำรุด
ควรปลูกต้นไม้ ไม้ดอก เพื่อความสดชื่นและให้ร่มเงา
ควรมีสนามใหญ่บริเวณโรงเรียนด้านหน้าเพื่อประโยชน์ในการสอนพลศึกษา
กรณีมีบ่อน้ำหรือสระน้ำจะต้องทำอาณาเขตกั้นเพื่อป้องกันมีให้เด็กพลัดตกน้ำ
จัดเส้นทางจราจรภายในโรงเรียนให้ชัดเจน
สนามเด็กล่นสำหรับโรงเรียนระดับประถมศึกษาควรปูพื้นด้วยทรายหนา 30 เชนติเมตร หรือปูด้วยพื้นยางสังเคราะห์เพื่อป้องกันการบาตเจ็บจากการพลัดตก การติดตั้งเครื่องเล่นจะต้องฝังฐานเครื่องเล่นหรือยืดเครื่องเล่นติดกับพื้น
9.3 มีระบบป้องกันอัคคีภัยและสาธารณภัยต่าง ๆ เช่น ติดตั้งระบบสัญญาณเตือนกรณีเกิดเพลิงไหม้ติดตั้งเครื่องดับเผลิงในที่ที่มองเห็นได้ง่าย