Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ, นางสาวแพรวรุง คำผอง เลขที่ 63…
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนเเปลงร่างกายผู้สูงอายุ
ภายใน
สุขภาพอนามัย
การมองโลก ประสบการณ์ชีวิต
กรรมพันธ์ุ
ความเชื่อ
ภายนอก
การศึกษา
เศรษฐกิจ
สิ่งเเวดล้อม
การเกษียณงาน
การเปลียนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยา
ระบบผิวหนัง (Integumetary System)
ผิวหนังบางลง เหนียวมากขึ้น
อัตราการสร้างเซลล์ใหม่ลดลง ทำให้แผลหายช้า
คอลลาเจนแข็งตัวมากขึ้น ทำให้ความยืดหยุ่นไม่ดี
น้ำและไขมันใต้ผิวหนังลดลง ทำให้มีรอยเหี่ยวย่น
ระบบไหลเวียบริเวณผิวหนังลดลง เกิดแผลกดทับได้ง่าย ทนต่อความเย็นได้น้อยลง
ต่อมเหงื่อจำวและขนาดลดลง การระบายความร้อนไม่ดี อาจเกิด Heat stroke
ต่อมไขมันทำงานน้อยลง ผิวแห้งแตกง่าย คัน
อัตราการเกิดผมและขน รวมถึงเมลานิน ลดลง ทำให้ผมบางและเป็นสีขาว
ผมร่วง การไหลเวียนเลือดบริเวณศีรษะลดลง
ปัญหาการได้ยิน หูตึง (Presbycusis)
เกิดจากการเสื่อมของ organ of Corti และ basilar membrane ร่วมกับเส้นประสาทคู่ที่ 8 (auditoty nerve)
ทำให้มีความบกพร่องการได้ยิน เสียงสูงมากกว่าเสียงต่ำ
ควรพูดด้วยเสียงทุ้ม พูดง่ายๆช้าๆชัดๆ เลี่ยงใช้คำเดี่่ยว ขณะพูดควรยืนต่อหน้า ไม่ห่างไม่ใกล้เกิน 3 ฟุต ไม่แสดงท่าทางอาการหงุดหงิด
การมองเห็น
ลูกตาเล็กลงและลึก เพราะไขมันลดลง
หนังตายืดหยุ่นน้อยลง หนังตาตก
รูม่านตาเล็กลง ปฏิกิริยาต่อแสงลดลง
การปรับตัวด้านการมองในที่ต่างๆไม่ดี โดยเฉพาะกลางคืน
แก้วตาแข็ง ขุ่นเหลือง ความสามารถเทียบสีลดลง
แดง ส้ม เหลือง :smiley:
น้ำเงิน ม่วง เขียว :red_cross:
ควรเลือกสีที่ชัดเจนตกแต่งบ้าน เพื่อลดอันตราย
กล้ามเนื้อลูกตาเสื่อม ทำให้สายตายาว ลานสายตาแคบ
ผลิตน้ำตาน้อย ตาแห้ง
สมอง
เซลล์สมองและประสาท ขนาดสมอง ประสิทธิภาพการทำงานลดลง
ความไวและการตอบสนองต่อปฏิกิริยาต่างๆลดลง
ความจำเสื่อมโดยเฉพาะเร่องราวใหม่ๆ(recent memory)
ความสามารถในการเก็บข้อมูลลดลง จำได้แต่เรื่องในอดีต(remote memory)
แบนแผนการนอนเปลี่ยน
นอนกลางวันมากเกิน
กังวลสูง
ขาดการออกกำลังกาย
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (Musculoskeletal system)
อัตราการเสื่อมมากกว่าการสร้าง
Ca สลายมากขึ้นลำไส้ดูดซึมได้น้อย สูญเสียทางลำไส้ ไต เพราะขาด vit D
ในเพศหญิงจะขาด เอสโตรเจน ในการกระตุ้นให้สร้างกระดูก เนื่องจากหมดประจำเดือน
กระดูกผู้สูงอายุจึงเปราะและหักง่ายแม้ไม่ได้รับอุบัติเหตุ
Ca ทีสลายออกมักไปเกาะามกระดูกอ่อนในอวัยวะต่างๆที่บริเวณชายโครงทำให้หายใจลำบาก
ความยาวกระดูกลดลง เพราะหมอนรองกระดูกสูญเสียน้ำและบางลงกระดูกหลังผุมากขึ้น ทำให้หลังค่อม(kphosis) หลังเอียง(scoliosis)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular System)
ผนังหลอดเลือดฝอยหนาขึ้น การเเลกเปลี่ยนอาหารและของเสียลดลง
ผนังหลอดเลือดยืดหยุ่นน้อยลง ทำให้เกิดภาวะความดันโลหิตต่ำเมื่อเปลี่ยนท่า(postural hypotention)
เกิดรอยฟกช้ำได้ง่าย
ระบบภูมิคุ้มกัน
ทำงานลดลง ติดเชื้อง่าย
อัตราส่วนของ helper T cell ต่อ T cell เพิ่มขึ้น
จํานวนของ T-lymphocytes ไม่เปลี่ยนแปลง
การตอบสนองของ T-lymphocytes ต่อเชื้อโรค/สิ่งแปลกปลอมต่างๆลดลง
ระบบทางเดินหายใจ (Respiratory System)
เนื้อปอดความยืดหยุ่นลดลง
กล้ามเนื้อที่ช่วยหายใจ ประสิทธิภาพลดลง
ปอดยืดขยายและหดตัวน้อยลง
จำนวนถุงลมลด ผนังถุงลมแตกง่าย เกิดถุงลมโป่งพองง่าย
การทำงานของ cilia ตลอดทางเดินหายใจ ลดลง
รีเฟล็กซ์และประสิทธิภาพการไอลดลง เกิดการติดเชื้อง่าย
การทํางานของฝาปิดกล่องเสียงเลวลง เกิดการสำลัก>>โรคปอดบวม
ระบบทางเดินอาหาร (Digestive System)
ฟันสึกกร่อน เคลือบฟันบางลง ฟันเปราะ บิ่นง่ายฟันผุ หลุดล่วงง่าย
ต่อมน้ำลายทำหน้าที่น้อยลง ปากและลิ้นแห้ง ติดเชื้อง่าย
ลิ้นสูญเสียการรับรส
เซลล์บริเวณหลอดอาหารยื่่นโป่งพองทำให้การเคลื่อนไหวของหลอดอาหารลดลง
หูรูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อนตัวและทำงานช้า อาหารในกระเพาะไหลย้อนกลับ ทำให้รู้สึกแสบยอดอก
ระบบทางเดินปัสสาวและระบบสืบพันธุ์(Genitourinary System)
ภาวะขาดน้ำ
ไต ขับของเสียน้อยลง
ปริมาณเลือดเข้าสูไตได้น้อย
การควบคุมความเข้มข้นของปัสสาวะเสื่อม
ปัสสาวะบ่อย
กระเพาะปัสสาวะจุน้อยลง
ความสามารถในการหดตัวลดลง
ปัสสาวะค้างเสียงต่อการติดเชื้อ
ปัสสาวะ
ชาย
ปัสสาวะขัด ลำปัสสาวะไม่พุ่ง เนื่องจากต่อมลูกหมากโต
หญิง
กลั้นไม่อยู่ เพราะกล้ามเนื้ออุ้มเชิงกรานหย่อน
โรคทางเดินปัสสาวะ
โรคติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่
ไตวาย
ระบบต่อมไร้ท่อ (Endocrine System)
Tyroid
เนื้อเยื่อพังผืดสะสมมากขึ้น การทำงานลดลง >> เกิดภาวะhypothyroidism
อ่อนเพลีย เบื่่ออาหาร น้ำหนักลด
ตับอ่อน
หลั่งอินซูลินช้าและลดลง
ระดับน้ำตาลขณะอดคงที่
ร่างกายตอบสนองอินซูลินน้อยกว่าปกติ >> ระดับความทนต่อน้ำตาลลดลง
ต่อมเพศ
ทำงานลดลง >> ไม่มีประจำเดือน ขนรักแร้และหัวหน่าวลดลง
ปัญหา สาเหตุ และการปฏิบัติตัว เพื่อชะลอความเสื่่อม
อุบัติเหตุ แผลบริเวณผิวหนัง
เลี่ยงการประคบร้อนเเละเย็น จัดสิ่งเเวดล้อมให้เป็นระเบียบ แสงสว่างเพียงพอ ภายในบ้านควรมีราวจับ เปลี่ยนท่าเดินช้าๆ
ภาวะเบื่ออาหาร ขาดสารอาหาร โลหิตจาง
ทานอาหาร 5 หมู่ ทานน้อยๆแต่บ่อยครั้ง ทานผักผลไม้มากขึ้น ดูแลความสะอากของปากและฟัน ตรวจทุก 6 เดือน
กระดูกเปราะและหักง่าย ปวดข้อ
ทาน Ca ออกกำลังกายในที่แดดอ่อนๆ บริหารข้อ งดบุหรี่เละสุรา เลี่ยงนั่งยองๆ ขัดสมาธิ พับเพียบ ระวังการล้ม
กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย ความดันโลหิตสูง สมองขาดเลือด
ออกกำลังกาย เลี่ยงเครียด งดบุหรี่เละสุรา ลดความอ้วน งดอาหารไขมันสูง วัดความดันเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ
การติดเชื้อในทางเดินหายใจและการสําลัก ถุงลมโป่งพอง หายใจ
ลําบากเหนื่อยง่าย
เคี้ยวอาหารช้าๆ เลี่ยงการพูดคุยขณะทาน บริหารการหายใจ ไออย่างถูกวิธี ฉีดวัคซีนป้องกัปอดติดเชื้อ
ต้อกระจก
ตรวจตาปีละครั้ง ไม่ใช้สายตาเกินไป เเสงสว่างให้เพียงพอ ถ้ามีอาการควรปรึกษาแพทย์
เบาหวาน
ออกกำลังกาย คุมอาหาร ลดความอ้วน
การนอนไม่หลับ
จัดสถานที่ให้เงียบ ดื่มนมอุ่นๆก่อนนอน ออกกำลังกาย นอนกลางวันน้อยลง เลี่ยงกาแฟ ชา น้ำ ก่อนนอน
ท้องผูก
ดื่มน้ำมากขึ้น ทานผัก ผลไม้ ออกกำลังกาย ห้ามกลั้นอุจจาระ เลี่ยงเครียดและยาถ่าย
หูตึง
ตรวจหู ปีละครั้ง หมั่นสังเกตุตัวเอง รึใช้เครื่องช่วยฟัง
ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ถ่ายปัสสาวะลําบาก และถ่ายบ่อย
ขมิบก้บ่อยๆ ดื่มน้ำให้เพียงพอ เตรียมห้องน้ำให้อยูใกล้ สังเกตุอาการถ้าถ่ายปัสสาวะมากให้พบเเพทย์
ผิวแห้งแตกง่ายเหี่ยวย่น
เลี่ยงการอาบน้ำบ่อย ควรใช้สบู่อ่อนๆ ทาโลชั่น เลี่ยงเเดด
หนาวเย็น
ใส่เสื้อผ้าหนาๆ
ความไม่สมดุลของน้ําในร่างกาย
ดื่มน้ำให้เพียงพอ หลีกเลียงอากาอาศร้อน
.การติดเชื้อในอวัยวะสืบพันธุ์ เจ็บขณะร่วมเพศ
รักษาความสะอาด ใช้สารหล่อลื่น
นางสาวแพรวรุง คำผอง เลขที่ 63 62111301065