Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 เศรษฐกิจ และการเมืองระหว่างประเทศไม่อาจแยกจากกัน - Coggle Diagram
บทที่ 1 เศรษฐกิจ และการเมืองระหว่างประเทศไม่อาจแยกจากกัน
ทฤษฎี
เสรีนิยม Liberalism
ริคาร์โด เสนอ การแบ่งงานกันทำ
อดัม สมิธ มือที่มองไม่เห็น รัฐควรจะทำงานห้น้อยลง ให้กลไกตลาดเข้ามาแก้ไข
เสรีภาพทางการผลิต ถนัดผลิตอะไรจะออกมาดี
เกิดภาวะสมัยใหม่ เปลี่ยนความเชื่อ ว่าพระเจ้าไม่ได้มอบอะไร มีเหตุมีผล- โลกาภิวัฒน์
จอน ล็อค เรามีสิทธิเสรีภาพตั้งแต่เกิด
ความสุขนิยม เบรนเฮ็ม รัฐต้องเคารพต่อประโยชน์ของประชาชน
จอห์น สจ๊วต มิลล์ เสรีภาพของมนุษย์ มีมาก่อนจะมีรัฐ แต่ถูกจำกัดเมื่อมาเป็นชุมชน
มาร์กซิสต์ Marxist
ความไม่เป็นธรรม ความไม่เท่าเทียม จากการสร้างความมั่นคง
พาณิชยนิยมMercantilism
ขึ้นอยู่กับความร่ำรวยมั่งคั่ง รัฐต้องเข้ามาแทรกแซง มีนโยบายกีดกั้นทางการค้าปกป้องตลาดการค้า ระบายสินค้าออก
ดุลการชำระเงินเป็นบวก
มาจากการค้นพบโลกใหม่
พาณิชเกิดขึ้นในศตว 16-18
การปฎิวัติอุตสาหกรรม
มีอาณานิคม /สร้างชาตินิยม
สัจนิยม อธิบายเรื่องความมั่นคง ตอบสนองผลประโยชน์แห่งชาติ
กิล คือสมาคมการค้า พ่อค้าที่ร่ำรวยมาจากการค้าขาย
วิวัฒนาการโครงสร้าง
ก่อนสงคราม โลก 1
การขยายตัวของจักรวรรดินิยม เริ่มที่ยุค เรเนซอง
ความสำเร็จของอังกฤษ
ความเหนือชั้นด้านอุตสาหกรรม
พลังอำนาจทางทะเลที่ปกป้องประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ระหว่างสงครามโลก 1 และ 2
มีกระแสชาตินิยม
หลัก 14 ประการ ประธานาธิบดี วูดโรว์ วิลสัน
ชาตินิยม สุดโต่ง = ฟาสซิสต์ ผลักดันให้การเมืองมาใช้ความรุนแรง ให้ความสำคัญกับชนชั้นนำ
สมัยเลนิน
อนุญาตให้เกษตกรขายผลผลิตตัวเองได้ โดยต้องจ่ายภาษีในรูปแบบผลผลิตให้กับรัฐ
จอห์น เมนาร์ด เคนส์
ลดการว่างงาน แตะระดับร้อยละ 30 สมุดบทเหลืองบรรเทาระบบทุนนิยม หยุดระบบคอมมิวนิสต์
สนธิสัญญาแวร์ซาย ทำให้ฝ่ายชนะสงครามได้ประโยชน์
USA เสรีนิยม แข็งแกร่งสุด ในนามโครงการ นิวดีล ในสมัยประธานาธิบดี แฟรงคลิน รูสเวลท์
การวางแผนจัดระเบียบ "กฎบัตรแอตแลนติก" ลดบทบาทแนวคิดชาตินิยม
หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2
ระบบการจัดการการเงินเบรตตันวูดส์ (อังกฤษ: Bretton Woods system)
สำหรับความสัมพันธ์พาณิชย์และการเงินระหว่างรัฐอุตสาหกรรมหลักของโลกช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 20 ระบบเบรตตันวูดส์เป็นตัวอย่างแรกของระเบียบการเงินที่มีการเจรจาอย่างสมบูรณ์
ทุกประเทศมีพันธกรณีใช้นโยบายการเงินซึ่งธำรงอัตราแลกเปลี่ยนโดยผูกเงินตราของประเทศกับทองคำ
กระแสโลกาภิวัฒน์ กับพลวัตรที่เปิดกว้างของการศึกษา
กฎแห่งมัสยาญาณ ปลาใหญ่ย่อมกินปลาเล็ก
การศึกษาเศรษฐกิจ การเมืองระหว่างประเทศ ครอบคลุมทั้งเรื่องการเสนอแนวความคิด ความเป็นไปเป็นมา ผลการดำเนินสัมพันธ์ มิติการเมืองระหว่างประเทศ คลุมเรื่องต่างๆ