Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วย 10 เครือข่ายหน่วยภูมิภาคและระดับโลกของอาเซียน - Coggle Diagram
หน่วย 10 เครือข่ายหน่วยภูมิภาคและระดับโลกของอาเซียน
อาเซียนตอนยังไม่มีเครือข่าย
เน้นการสร้างชาติ และความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เพราะคิดว่าถ้า ประเทศด้อยพัฒนา มีโอกาสจะถูกการแทรกแซงมาก
อาเซียนไม่แทรกแซงกัน ตมสนธิสัญญามิตรภาพและความร่วมมือ TAC
เป็นรากฐานในการสร้างเครือข่าย เอเชีย-แปซิฟิก
มีกรอบความร่วมมือ East Asia Summit จนมีกฎบัตรอาเซียน ASEAN CHARTER
ทศวรรษ 1970 และ 1980 ความจำเป็นที่ต้องสร้างเครือข่าย
ประเทศคู่เจรจา
อาเซียนร่วมมือกับประเทศภายนอกกลุ่ม "ประเทศคู่เจรจา"
เริ่มเป็นทางการในเอกสาร ปฎิญญาความสมาณฉันท์อาเซียน
รายนามประเทศคู่เจรจา
ญี่ปุ่น ประเทศคู่เจรจา แรก
หลักการ FUKUDA DOCTRINE นโยบาย ตปท ของญี่ปุ่นต่อภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ให้ความช่วยเหลือโครงการอุตสหกรรมอาเซียน
ช่วยเหลืออาเซียนผ่านโครงการ ODA
ช่วยเหลืออาเซียนฟื้นฟูเศรษฐกิจวิกฤติ
ออสเตรเลีย
มองว่าอาเซียนเป็นศูนย์กลางสำคัญ
อาเซียนกลายเป็นตลาดส่งออกสินค้าของออสเตรเลีย
โครงการความร่วมมือทางเศรษฐกิจAAECP
โครงการร่วมมือด้านการพัฒนาAADCP
นิวซีแลนด์
สนับสนุนกองทุนวิทยาศาสตร์ ASEAN Science FUND
สหรัฐ สัญญากรอบการค้า การลงทุน TIFA
แคนนาดา
ความร่วมมืออาเซียน แคนนาดา ACECA
JCC ข้อตกลงป่าไม้ พลังงาน นโยบายสิ่งแวดล้อม
ยุโรป
เกาหลีใต้ กองทุนพิเศษ FOCP เพื่อแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
จีน มีกองทุนความร่วมมืออาเซียยนจีน / กาค้าเสรี อาเซียน จีน ACFTA
รัสเซีย
UN อาเซียนมีปฎิสัมพัน์กับโครงการพัฒนา UNDP/อาเซียนมีสถานะเป็นผู้สังเกตุการณ์ใน สหประชาชาติ
ปัญหากัมพูชาและบทบาทอาเซียน 1980
ปัญหาเวียดนาม ยึดกรุงพนมเปญสำเร็จ
อาเซียนทำให้ปัญหากัมพูชา ไปสู่ UN
การสนับสนุนระดมแรงทางการทูตจากประเทศคู่เจรจา เรียกร้องให้มีการคว่ำบาตรเวียดนาม
การสิ้นสุดสงครามเย็น แนวคิดอาเซียนเป็นกลาง และสร้างเครือข่ายระดับภูมิภาคและระดับโลก ทศวรรษ 1990
ความมั่นคง เอเชีย แปซิฟิก APAC
การพัฒนาค่อยเป็นค่อยไป 3 ขั้นตอน
การพัฒนากลไกการทูตเชิงป้องกัน
การพัฒนากลไกแก้ไขความขัดแย้ง
การสร้างมาตรการส่งเสริมความไว้เนื้อเชื่อใจ
การประชุมเอเชีย ยุโรป
คุยกันได้ทุกเรื่อง