Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โครงสร้างสถาบันอาเซียน ทศวรรษที่ 1960-1990, ชื่อโครงสร้าง กลไกต่างๆ -…
โครงสร้างสถาบันอาเซียน ทศวรรษที่ 1960-1990
โครงสร้างสถาบันอาเซียน ทศวรรษ 1960
ลงนามปฎิญญาก่อตั้งอาเซียน หรือ ปฎิญญากรุงเทพ
ให้ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ปฎิญญาคือ การให้คำมั่นสัญญาโดยถือเอาความสุจริตหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์เป็นที่ตั้งว่าจะปฏิบัติตามที่ได้ตกลงกัน.
กลไกอาเซียน กระจายไปยังประเทศต่างๆ กลไกอาเซียนได้แก่
มีแกนกลางเป็นที่ประชุมระดับ รมต.ตปท (เป็นกลไกตัดสินใจสูงสุด)
แนวปฎิบัติของอาเซียนมีรูปแบบไม่เป็นทางการ
เงื่อนไข รอบครอบ และ ระแวดระวัง
การก่อตั้งอาเซียนมีภาพลักษณ์ไม่ให้ทำตัวเหมือนเป็นพันธมิตรด้สนการทหาร แม้ว่าจะมีเป้าหมายความมั่นคงแฝงอยู่
โครงสร้างสถาบันอาเซียน ทศวรรษ 1970 และ 1980
ทศวรรษ 1970
กลไกของอาเซียนพัฒนา มีการตั้งหน่วยงานกลางถาวร
มีการตั้งสำนักเลขาธิการ ที่จาการ์ตา อินโด
มีกลไกประชุมที่หลากหลาย
มีการประชุมระดับผู้นำรัฐบาล
มีการวางกรอบปฎิบัติผ่านปฎิญญาต่างๆ
ทศวรรษ 1980
อาเซียนสะสมโครงสร้างสถาบันเพิ่ม
โดยเฉพาะ ด้าน ตัวแสดง
บรูไนเข้ามาเป็นสมาชิกลำดับที่ 6
การประชุมยกระดับให้เป็นทางการ
การขยายตัวแสดงคือ การมีปฎิสัมพันธ์นอกกลุ่ม มีชาติ""คู่เจรจา" ผ่านกลไกการประชุมทางการ
แผนการปฎิบัติ วิถีอาเซียน คือ เคารพอธิปไตยกัน ไม่แทรกแซงกัน
เมื่อสหรัฐ ประกาศหลักการนิกสัน
อาเซียนประกาศจุดยืนเป็นกลาง เป็นอิสรภาพจากการแทรกแซงภายนอก ZOPFAN "ปฎิญญาว่าด้วยเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพและความเป็นกลาง"
สนธิสัญญาไมตรีความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ TAC
ด้วยการรองรับจากผู้นำแต่ละชาติ ASEAN SUMMIT
เคารพและปกป้องอธิปไตยของสามชิก ไม่แทรกแซง เคารพอธิปไตย
ปฎฺิญญาด้วยความร่วมมืออาเซียน Bali Concord (ปฎิญญาบาหลี)
ด้านการเมือง และความมั่นคง
ตอกย้ำ TAC
โครงสร้างสถาบันอาเซียน ทศวรรษ 1990
เกิดโลกาภิวัฒน์ หลังสงครามเย็น ต้องเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทำงานมากขึ้น
การประชุมสุดยอดจัดถี่ขึ้น
ยกระดับกฎเกณฑ์เป้าหมาย
สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ SEANWFZ (สนธิสัญญากรุงเทพ Bankkok Treaty)
การพัฒนากลไก
จัดประชุดสุดยอดถี่ขึ้น
มีตัวแสดงมากขึ้น เวทีว่าด้วยความมั่นคง APF และ ASEAN +3 : APT
APT ญี่ปุ่นเป็นคนผลักดัน ความมั่นคงของมนุษย์
ความตกลงนี้มีการพัฒนา เป็น CMI มาตรการริเริ่มเชียงใหม่ มีกลไก การทำสนธิสัญญาแลกเปลี่ยนสกุลเงิน เพื่อป้องกันวิกฤติการเงินไม่ให้ซ้ำรอย
การไม่แทรกแซงกัน
อาเซียนถูกท้าทายด้วยชาติตะวันตก ว่าด้วยเรื่องการแทรกแซงเรื่องสิทธิมนุษยชน อาจกลายเป็นความท้าทายในการตัดสินใจอาเซียน
การประชุมรัฐมนตรีอาเซียน คือ AMM
SOM การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโส ปลัดกระทรวงอาเซียน
การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสเศรษฐกิจ อาเซียน SEOM
ASC คณะกรรมการประจำอาเซียน
การประชุม รมต.ตปท อาเซียน กับ รมต.ตปท ชาติคู่เจรจา PMC
นอกนั้นคือฉันไม่ตำแล้ว
AEM รมต เศรษฐกิจ
ชื่อโครงสร้าง กลไกต่างๆ