Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 อาเซียนในสายตา โลก - Coggle Diagram
บทที่ 11 อาเซียนในสายตา โลก
ในสายตานักวิชาการ
มองอาเซียนช่วงแรกยังไม่ค่อยแน่ใจ ว่าจะมีประโยชน์หรือไม่
มีความหวังว่าจะเป็นองค์กรต่อรองอย่างจริงจังในอนาคต
นักวิชาการชาวอังกฤษ
ไมเคิล ลีเฟอร์
มองว่า อาเซียน เป็นองค์ระหว่างประเทศที่สร้างระเบียบในภูมิภาค มากกว่าความร่วมมือทางเศรษฐกิจ (ดูจากปัญหากัมพูชาและสันติภาพในประเทศต่างๆ)
โรสแมรี ฟูต
อาเซียนเป็นองค์กรที่ยืดหยัดและอยู่ได้ท่ามกลางสงครามรุนแรง
มีแต่คนอยากเข้าอาเซียน ไม่เคยเห็นคนอยากออกจากอาเซียน หรือไล่ประเทศออกจากอาเซียน
นักวิชาการสหรัฐอเมริกา
โดนัลด์ อี เวเธอร์บี
อาเซียนมีลักษณะแบ่งรับ แบ่งสู้ อนาคตของอาเซียนสามารถพัฒนาเป็นปึกแผ่นได้
ช่วงแรกมองอาเซียนด้วยความเคลือบแคลงใจ ว่าความร่วมมือทางเศรษฐกิจยังไม่ดีเท่าที่ควร
นักวิชาการ ออสเตรเลีย มองว่าอเซียนมีผลประโยชน์ต่อการเมืองออสเตรเลีย
โรเจอร์ เออร์ไวน์ กล่าวว่า ทั้งๆที่ประเทศในอาเซียนขัดแย้งกัน แต่มีพัฒนาการที่ดีขึ้น เช่น ยุตินโยบายการเผชิญหน้าของผู้นำใหม่อินโดนีเซีย ซูฮาร์โต
นักวิชาการ เอเชีย อาเซียนมีแนวโน้มพัฒนาได้เรื่อยๆ
ในสายตาองค์กรนอกภาครัฐ และชนชั้นนำทางการเมือง
องค์กรนิรโทษกรรม AI มองอาเซียนด้วยความ เคลือบแคลงใจ ว่าจะสามารถยกระดับ การเคารพสิทธิมนุษยชนภายในประเทศได้หรือไม่
มองว่าเป็นความพยายามร่วมมือกัน ภายใต้ความแตกต่าง
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรษ อดีตเลขาธิกาอาเซียน ชาวไทย มองว่า อาเซียนนั้นเปรียบเหมือนหนุ่มสาววัย เบจเพศ มองหาโอกาสของตนเอง เริ่มเป็นผู้ใหญ่ เนื้อหอม ใกล้ๆก็อยากเข้าใกล้ จะเป็นศูนย์กลางความเจริญแห่งใหม่
ศาสตราจารย์มาห์บูบานิ กล่าวว่า สงครามการค้าจีน สหรัฐ ทำให้อาเซียนตกที่นั่งลำบากในรอบ 50 ปีของประวัติศาสตร์อาเซียน
ดร.นาตาเลกาวา เน้นสร้างความไว้วางใจในประเทศอาเซียน เป็นเครื่องมือสำคัญของอาเซียน