Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีผู้สูงอายุ, นางสาวบุษชา วงศ์รัศมีธรรม เลขที่ 43 รหัส 62111301045…
ทฤษฎีผู้สูงอายุ
ทฤษฎีความสูงอายุเชิงจิตสังคม (Phychosocial theory)
ทฤษฎีการถดถอย (Disengagement Theory)
ผู้สูงอายุจะสามารถยอมรับในบทบาทและหน้าที่ของตนเองลดลง
ทําให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีลักษณะแยกตัวออกจากสังคมทีละน้อย
ถ้าสังคมและบุคคลรอบข้างของผู้สูงอายุยอมรับเปิดโอกาสและเคารพในตัวผู้สูงอายุ
ทําให้ผู้สูงอายุมีความสุขและรู้สึกมีคุณค่ามากขึ้น
ทฤษฎีการมีกิจกรรม (Activity theory)
ทฤษฎีนี้ส่งเสริมการทํากิจกรรมต่อไป ไม่ยอมรับการเป็นผู้สูงอายุเร็วเกินไป
การกระตุ้นให้ผู้สูงอายุได้มีกิจกรรมต่อไปเพื่อความมั่นคงและอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณค่า
ทฤษฎีความต่อเนื่อง (Continuity Theory)
อธิบายว่าผู้สูงอายุจะมีความสุขในการทํากิจกรรมต่างๆ ขึ้นอยู่กับบุคลิกภาพและแบบแผนการดําเนินชีวิตที่มีมาในอดีต
ควรมีการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีการตัดสินใจที่จะเลือก เพื่อใหผู้สูงอายุมีความพึงพอใจและไม่ขัดแย้งต่อความรู้สึกภายใน
ดังนั้นการประเมินพฤติกรรมในอดีตของผู้สูงอายุ จึงเป็นประโยชน์ใน การช่วยให้ผู้สูงอายุเผชิญกับภาวะความเครียดในปัจจุบันและอนาคต
แนวคิดพัฒนกิจชีวิตของอิริคสัน (Erikson, s Developmental Tasks)
พัฒนกิจที่สําคัญ ได้แก่ การปรับตัวต่อความเจ็บป่วย การสูญเสียและการเปลี่ยนแปลง
การเตรียมตัวเองเข้าสู่วาระสุดท้ายของชีวิต ปรับตัวต่อความสิ้นหวังให้คงไว้ซึ่งความรู้สึกเป็นตัวของตัวเอง
ทฤษฎีของเพค (Peck, Concept)
ขยายแนวคิดของ Erikson ให้เฉพาะเจาะจงเกี่ยวกับการสร้างความรู้สึกมีศักดิ์ศรีในตนเอง
ควรสร้างความรู้สึกพึงพอใจในตนเองในฐานเป็นคนคนหนึ่ง ไม่ใช่จากการมีบทบาทในสังคม
ควรมองหรือสะท้อนคิดถึงอดีตที่ประสบความสําเร็จอย่างชื่นชมแทนการมอง ระยะเวลาที่เหลืออยู่ในชีวิต
ทฤษฎีทางชีวภาพ (Biological Theories)
เป็นทฤษฎีที่อธิบายความชราทางชีววิทยาซึ่งเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่เกิดขึ้นในร่างกายสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
กระบวนการชรามักสัมพันธ์กับอายุของสิ่งมีชีวิต
ประกอบด้วยทฤษฎีต่างๆ ดังนี้
ทฤษฎีระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและภูมิคุ้มกัน
(Neuroendocrine-Immunologic Theory)
เช่น แบคทีเรีย ไวรัส และภูมิคุ้มกันนี้ลดลง เมื่ออายุมากขึ้นมีผลทําให้มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ความสูงอายุเป็นผลร่วมกันของการเปลี่ยนแปลงระบบประสาท/ต่อมไร้ท่อและระบบภูมิคุ้มกันที่ทําหน้าที่ลดลง
ทฤษฎีพันธุกรรม (Genetic Theory)
ครอบครัวใดที่พ่อ – แม่ – ปู่ – ย่า ตา – ยาย อายุยืน ลูกย่อมมี อายุยืนด้วย
อายุขัยของมนุษย์ถูกโปรแกรมก่อนเกิดกําหนดไว้โดยเริ่มจากยีนใน DNA
ทฤษฎีนี้เชื่อวา ความสูงอายุถูกควบคุมด้วยพันธุกรรม
ทฤษฎีความเสื่อมโทรม (Wear and tear theory)
เช่น หลอดเลือด ข้อเข่า จึงควรมีการส่งเสริมสุขภาพและการชะลอความเสื่อมของร่างกาย
เมื่อมีการใช้งานมากๆหรือใช้งานอวัยวะเป็นเวลานาน
เมื่ออายุมากขึ้น จึงเกิดการตายของเซลล์ ร่างกายจะทํางานเสื่อมลง
ทฤษฎีนี้ เปรียบเทียบคนคล้ายกับเครื่องจักร
ทฤษฎีการเชื่อมตามขวาง (Cross - Linking Theory) หรือทฤษฎี
คอลลาเจน (Collagen Theory )
เมื่อเนื้อเยื่อคอลลาเจนมีการ เปลี่ยนแปลงทําให้มีลักษณะแข็ง แตกแห้ง สูญเสียความยืดหยุ่น
เลนซ์ในลูกตา ทําให้มีความทึบแสงมากขึ้น และกลายเป็นต้อกระจก (cataracts)
เช่น ผิวหนัง ผนังหลอดเลือด
สารไขว้ขวาง เช่น คอลลาเจน อิลาสติน และสารที่อยู่ภายในเซลล์และนอกเซลล์เป็นกลุ่มสารเส้นใยโปรตีน
พบมากในผิวหนัง กระดูกและกล้ามเนื้อ
ทฤษฏีเชื่อว่า เมื่อมีอายุมากขึ้นโปรตีนบางตัวจะเปลี่ยนแปลงลักษณะไขว้ขวางกันและขัดขวางกระบวนการเผาผลาญในร่างกาย
โดยอุดกั้นทางเดินระหว่างภายนอกกับภายในเซลล์ของสารอาหารและของเสีย
ทฤษฎีสะสม (Accumulation Theory)
เป็นผลผลิตของการเผาผลาญไขมันไม่อิ่มตัว มีผลเสียต่อการกระจายและการขนส่งสารที่จำเป็นในร่างกาย
สารไลโปฟัสซิน เป็นสารสีเหลือง ประกอบด้วยไขมันและโปรตีน พบในเซลล์กล้ามเนื้อหัวใจ ตับและเส้นประสาท
ทฤษฎีนี้เกิดจาก สารไลโปฟัสซิน (Lipofuscin)
ทฤษฎีอนุมูลอิสระ (Free radical Theory)
แนวคิดใหม่ที่สอดคล้องกับทฤษฎี คือ
ทฤษฎีจํากัดพลังงาน(Caloric Restriction or Metabolic Theory)
การจำกัดพลังงานในอาหาร ช่วยชะลอกระบวนการเผาผลาญให้ช้าลง โดยเฉพาะไขมัน
อนุมูลอิสระ เข้าทำลาย โปรตีน เอ็นไซต์ และ DNA ทำให้อวัยวะเสื่อมลง
อนุมูลอิสระ เป็นโมเลกุลที่ขาดออกซิเจนที่ขาดอิเล็กตรอนไป 1 ตัว => ทำให้มีประจุเป็นลบ => ไวต่อการเกิดปฏิกิริยาอิเล็กตรอนสูง => เกาะกับโมเลกุลอื่น ทำลายโมเลกุลนั้น เป็นลูกโซ่เรื่อยๆ
การกระตุ้นจากความร้อน แสงและรังสี ก่อให้เกิดสารที่เรียกว่า อนุมูลอิสระ
อธิบายว่า ความสูงอายุ เกิดจากการสะสมสารที่เกิดจากการเผาผลาญไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
นางสาวบุษชา วงศ์รัศมีธรรม เลขที่ 43 รหัส 62111301045 ชั้นปีที่ 2 รุ่น 37