Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เหมาะสมกับการเป…
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลง
กระบวนการวิเคราะห์และสังเคราะห์
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การวิเคราะห์และกระบวนการวิเคราะห์
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
กระบวนการวิเคราะห์ระบบ
กำหนดปัญหาในสภาวะการณ์ที่ไม่แน่นอน
กำหนดเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ที่ระบุ
ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
ประเมินค่าเบื้อต้น
กำหนดทางเลือกที่เหมาะสมหลายทางเลือก
สืบค้นและวิเคราะห์กลยุทธ์เพื่อให้เกิดผล
สร้างเครื่องมือและตัวชี้วัดในการวัดผลแนวทาง
KPI CSF KSF ที่เหมาะสม
การวิเคราะห์ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตรด้านนวัตกรรม
พื้นฐานความคิดการวิเคราะห์ที่สำคัญ
การวิเคราะห์ระบบเพื่อหาทาง
ตอบโจทย์ที่พึงปรารถนา
การวิเคราะห์ข้อมูล
เทคนิคที่สำคัญในการวิเคราะห์นวัตกรรมในองค์กร
1.การวิเคราะห์หาวิธีการของความคิดสร้างสรรค์
การวิเคราะห์ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
การวิเคราะห์การตลาดในรูปแบบที่สำคัญ
การวิเคราะห์แบบสร้างภาพอนาคต
กรอบสำคัญของข้อมูลในการวิเคราะห์
การวินิจฉัยนวัตกรรม
กระแสสังคม
เทคนิคและวิธีการรวบรวมข้อมูลป้อน
แก่ผู้ดำเนินการ
เเหตุผลของการวิเคราะห์เพื่อคาดการณ์
แนวโน้มและหาคำตอบโจทย์ที่เหมาะสม
การสังเคราะห์และกระบวนการสังเคราะห์
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรด้านนวัตกรรม
ความหมายของการสังเคราะห์
คือการบูรณาการ
องค์ประกอบหรือปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กันด้วยหลักการ
และเหตุผลโดยเชื่อมโยงประเด็นปัญหาความต้องการ
เหมือนกัน และทางออกที่มีลักษณะเป็น สถานการณ์ที่จำเป็น
กระบวนการสังเคราะห์ข้อมูลด้านนวัตกรรม
ภาคเกษตรและอาหาร
กำหนดเป้าหมายในการสังเคราะห์
กำหนดประเด็นปัญหา หรือความต้องการ
มีกรอบแนวคิดที่เหมาะสม
จัดระบบข้อมูลให้มีความชัดเจน แยกเป็นหมวดหมู่
เรียงลำดับขั้นตอนของประเด็นหรือหัวข้อ
เกิดผลลัพธ์ เป็นสิ่งใหม่ เพื่อใช้ประโยชน์ได้
สมบรูณ์ครบถ้วน นำไปปฏิบัติได้จริง
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
ด้านนวัตกรรมต่อการเปลี่ยนแปลง
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรในการ
ตอบโจทย์ของการกระจายความเสมอภาค
ในด้านเศรษฐกิจ สงคม และสิ่งแวดล้อม
Thailand 4.0 New Normal
การลดความเสี่ยงน้อยที่สุด
การปรับเปลี่ยนบางด้านเมื่อกลุ่มเป้าหมาย
และชุมชนเริ่มมีระดับการพัฒนาสูงขึ้น
การตอบโจทย์ในอนาคตที่มีความเป็นไปได้
การปรับตัวภาคการเกษตรและ
อาหารเข้าสู่ระบบสมาร์ทฟาร์ม
ใช้เทคโนโลยีที่เกิดความแม่นยำสูง
มีการใช้ระบบเทคโนโลยีอัตโนมัติ
กลุ่มเป้าหมายภาคเกษตรและอาหารด้านนวัตกรรม
ในการขับเคลื่อเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
พัฒนา SME และกลุ่มเครือข่าย
เกษตรกรที่มีความพร้อม
การประสานพลังของเจ้าหน้าที่รัฐ และเอกชนใน
การสนับสนุนให้เกิดความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
แนวคิดการประสานพลังเพื่อนวัตกรรมในชุมชน
ด้านการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การประสานพลังประชารัฐในการสนับสนุน
การประสานพลังในระดับชาติ
การประสานพลังในระดับท้องถิ่นเพื่อให้มี
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
บทบาทนักส่งเสริมในการประสานพลังเพื่อสร้างนวัตกรรม
ผู้กระตุ้น
เป็นตัวเร่งปฏิกิริยา
เป็นผู้สนับสนุนการจัดตั้งองค์กร และประสานงานสนับสนุน
การบริหารจัดการองค์กรเครือข่าย
ผู้แนะนำแหล่งข้อมูล
คุณลักษณะที่สำคัญของแกนนำกลุ่มเป้าหมาย
ในการสร้างนวัตกรรมการเกษตรและอาหาร
คุณลักษณะของผู้ที่สามารถแปรวิกฤตเป็นโอกาสได้
มีแรงบันดาลใจ มีเลือดนักสู้
การเปลี่ยนปัญหา เป็นปัญญา
ความคิดนอกกรอบ แสวงหาโอกาสใหม่ๆ เสมอ
ไฝ่หาความรู้อยู่เสมอ
มีหัวใจเป็นนักนวัตกรรม
การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจ
ที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ทิศทางและแนวทางเลือกที่สำคัญของ
การส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
การกำหนดกรอบความคิดที่ชัดเจน
กำหนดวิสัยทัศน์ที่ชัดเจน
กำหนดกลยุทธ์ตามวิสัยทัศน์
กำหนดกลุ่มเป้าหมายหลัก
สาเหตุที่เป็นแรงผลักดันในการขับเคลื่อนด้วย
นวัตกรรมของการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
หนี้ในครัวเรือน
การส่ฃออกภาคอาหารและอุตสาหกรมมเกษตร
การปรับตัวทางการตลาดของผู้ผลิต
อุตสาหกรรมเกษตรและอาหาร
นวัตกรรมเทคโนโลยีการผลิตในประเทศไทย
ไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
และผลิตไม่ครบวงจจร
การพัฒนาแบบยั่งยืน
ความจำเป็นในการพัฒนาผู้ประกอบการการเกษตร
และอาหารให้รับมือได้ต่อการเปลี่ยนแปลง
แบบก้าวกระโดด
แนวคิดการเข้าสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและพัฒนาการเกษตร
สาเหตุที่ต้องขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
การขยายตัวทางเศรษฐกิจโลกยังคงอ่อนแอ
ความสำคัญของการใช้นโยบายทางการเงิน
และการคลัง และการปฏิรูปโครงสร้างเศรษฐกิจ
การผลิตที่ล้นความต้องการของตลาด
การปรับเปลี่ยนของภาคการเกษตรและอาหาร
เข้าสู่เศรษฐกิจขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
การขับเคลื่อเศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม
แนวคิดการยกระดับอาหารไทย
การขับเคลื่อโลกด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
แนวคิดเรื่องพลังงานทางเลือก
ความรับผิดชอบต่อสังคม CSR
การพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอย่างยั่งยืน
การเพิ่มตลาดใหม่เพื่อสร้างความหลากหลาย
พื้นฐานความคิดที่เกี่ยวข้อง
ทิศทางและแนวทางเลือกที่สำคัญ
ของเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม
การปรับตัวของภาคการเกษตรที่เน้นการส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตร ต้องปรับตัวตามแนวคิดในทางเลือก
ที่รัฐกำหนดตามนโยบายประชารัฐ เพื่อให้มีการบรรลุ
เป้าตามวิสัยทัศน์ที่กำหนด ยกระดับศักยภาพ
ของภาคเอกชน(SME) ให้มีบทบาทในการขับเคลื่อน
เศรษฐกิจด้วยนวัตกรรม มากยิ่งขึ้น รวมทั้งการประกอบการ
ของกลุ่มเครือข่ายเป้าหมายให้ทำการประกอบการ
ครบวงจร การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ มีการใช้ช่องทาง
ในการทำธุรกิจออนไลน์อย่างมีประสิทธิภาพและ
ก้าวทันโลกในการก้าวกระโดดของการปฏิวัติอุตสาหกรรม
4.0 รวมทั้งการปฏิบัติตามเงื่อนไขของโลกด้านการพัฒนา
ในการตอบสนองมาตรฐานสากลที่กำหนดไว้ในภาคการ
อุตสาหกรรมการเกษตรและอาหารด้านสุขอนามัย