Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย ตั้งแต่สมัยอยุธยาจน…
ชาวต่างประเทศที่มีส่วนในการสร้างสรรค์ประวัติศาสตร์ไทย
ตั้งแต่สมัยอยุธยาจนถึงรัตนโกสินทร์
การสร้างองค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์ไทย
ฟาน ฟลีต หรือวัน วลิต (Jeremias van Vliet)
พ่อค้าฝรั่งเศสในสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
บันทึกหลักฐานสำคัญเกี่ยวกับสภาพสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองสมัยอยุธยา
Description of the Kingdom of Siam
(พรรณนาเรื่องอาณาจักรสยาม)
The Short History of the Kings of Siam
(พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา)
Historical Account of Siam in the 17th Century (จดหมายเหตุฟาน ฟลีต)
ซีมง เดอ ลาลูแบร์ (Simon de La Loubere)
ทูตชาวฝรั่งเศสในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เขียนบันทึกเรื่อง A New Historical Relation of the Kingdom of Siam (จดหมายเหตุ ลา ลูแบร์)
นิโกลาส์ แชรแวส (Nicolas Gervaise)
ชาวฝรั่งเศสที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีในสมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เขียนบันทึก เรื่อง ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม
พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์ (Pallegoix)
บาทหลวงชาวฝรั่งเศสในรัชกาลที่ 3
เดินทางไปที่ต่างๆ และเขียนหนังสือ Description du Royaume Thai ou Siam
เฮนรี เบอร์นีย์ (Henry Burney)
ทูตชาวอังกฤษในรัชกาลที่ 3
บันทึกรายงานเจรจาทางการทูตและข้อมูลเกี่ยวกับไทยเสนอต่อรัฐบาลอังกฤษ
The Burney Papers
เซอร์จอห์น เบาว์ริง (Sir John Bowring)
เอกอัครราชทูตอังกฤษที่มาเจริญสัมพันธไมตรีในรัชกาลที่ 4
เขียนหนังสือ The Kingdom and People of Siam
ศิลปกรรม
ศาตราจารย์ศิลป์ พีระศรี (Corrado Feroci)
ศิลปินชาวอิตาลีมีความสามารถทางด้านศิลปะแขนงประติมากรรมและจิตรกรรม
ผลงานสำคัญ
ก่อตั้งมหาวิทยาลัยศิลปากรและบุกเบิกการสอนศิลปะในไทย
ควบคุมและออกแบบพระราชานุสาวรีย์และอนุสาวรีย์ที่สำคัญ
นายคาร์ล ดอริง (Karl Dohring)
สถาปนิกชาวเยอรมันนายช่างประจำกรมรถไฟ
ออกแบบวังวรดิศ ตำหนักบางขุนพรหม และพระรามราชนิเวศน์
นายริโกลี (Riguli)
จิตรกรชาวอิตาลี
วาดจิตรกรรมเพดานพระที่นั่งอนันตสมาคม และพระอุโบสถวัดราชาธิวาสราชวรวิหาร
การแพทย์
หมอบรัดเลย์ (Dan Beach Bradley)
มิชชันนารีชาวอเมริกันรุ่นแรกๆ ในรัชกาลที่ 3
นำความรู้ด้านการแพทย์มาใช้ในไทย เริ่มมีการผ่าตัดและการปลูกฝี ฉีดวัคซีน
หมอเฮาส์ (Dr. Samuel R. House)
มิชชันนารีชาวอเมริกันที่รักษาคนไข้โรคอหิวาตกโรคในกรุงเทพได้
นำวิธีการผ่าตัดโดยใช้ยาสลบมาใช้ในไทย
ชอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์ (George B. McFarland)
บุตรของมิชชันนารีชาวอเมริกันจบด้านการแพทย์และฝึกหัดทำฟัน
เปิดคลินิกรักษาโรคฟัน
ได้บรรดาศักดิ์เป็นพระอาจวิทยาคมจาก รัชกาลที่ 6
การศึกษา
ดร.ซามูเอล อาร์ เฮาส์ และ ศาสนาจารย์สตีเวน แมตตูน
เปิดโรงเรียนสำหรับเด็กชายที่สำเหร่ (กรุงเทพคริสเตียน)
นางแฮร์เรียต เฮาส์ (Harriet House)
เปิดโรงเรียนสำหรับเด็กหญิงแห่งแรก (กลุสตรีวังหลัง)
บาทหลวงเอมิล ออกุสต์ กอลมเบิร์ต (Emile August Golmbert)
ก่อตั้งโรงเรียนอัสสัมชัญ
เจษฏาจารย์ ฟ. ฮีแลร์
จัดการศึกษาสำหรับเด็กไทย ทำให้มีการสร้างโรงเรียนที่จัดการศึกษาโดยคณะภราดาเซนต์คาเบรียลหลายแห่ง
ไชยกาญจน์ ตาคำ เลขที่ 19 ห้อง 4/7