Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ - Coggle Diagram
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงร่างกายของผู้สูงอายุ
ปัจจัยภายนอก
การศึกษา
เศรษฐกิจ
สิ่งแวดล้อม
การเกษียณงาน
ปัจจัยภายใน
กรรมพันธุ์
สุขภาพอนามัย
การมองโรค, ประสบการชีวิต
ความเชื่อ
ปัญหา สาเหตุ และการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกัน การชะลอความเสื่อมในผู้สูงอายุ
1.อุบัติเหตุ แผลบริเวณผิวหนัง
หลีกเลี่ยงการประคบร้อนหรือเย็นจัดไป
จัดสิ่งแวดล้อม
2.ภาวะเบื่ออาหาร ขาดสารอาหารโลหิตจาง
รับประทานอาหารคุณค่าสูงครบ 5 หมู่
รับประทานอาหารครั้งทีละน้อยๆ แต่บ่อยครั้ง
3.กระดูกเปราะและหักง่าย ปวดข้อ
รับประทานอาหารที่มีแคลเซียมสูง
ออกกำลังกายในที่ที่มีแสงแดดอ่อนๆ
4.กล้ามเนื้อหัวใจตาย หัวใจวาย ความดันโลหิตสูง สมองขาดเลือด
ออกกำลังกายสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงความเครียดต่างๆ
5.การติดเชื้อในทางเดินหายใจและการสำลัก ถุงลมโป่งพอง หายใจลำบากเหนื่อยง่าย
รับประทานอาหารช้าๆ
6.เบาหวาน
ควรออกกำลังกาย
ควบคุมปริมาณอาหารให้พอเหมาะ
7.ท้องผูก
ดื่มน้ำมากๆ
ร่วมกับรับประทานผักผลไม้ที่มีกากไยสูง
8.ภาวะกลั้นปัสสาวะไม่อยู่ ถ่ายปัสสาวะลำบาก และถ่ายบ่อย
บริหารกล้ามเนื้อในอุ้งเชิงกรานและกล้ามเนื้อหูรูดโดยทำการขมิบบ่อยๆ
9.ต้อกระจก
ตรวจสายตาปีละ 1 ครั้ง
ถนอมสายตา
10.การนอนไม่หลับ
จัดสถานที่ให้เงียบสงบ ไม่มีเสียงรบกวน
11.หูตึง
ตรวจหู และการได้ยินปีละ 1 ครั้ง
สังเกตอาการผู้ที่หูตึง
12.ผิวหนังแตกง่าย เหี่ยวย่น
หลีกเลี่ยงการอาบน้ำบ่อยๆ
หลีกเลี่ยงการใช้สบู่
13.ความไม่สมดุลของน้ำในร่างกาย
แนะนำให้ดื่มน้ำอย่างเพียงพออย่างน้อย 7-8 แก้วต่อวัน
14.หนาวเย็น
ใส่เสื้อผ้าหนาๆ
อยู่ในสภาพแวดล้อมที่อบอุ่นไม่ร้อนหรอหนาวจนเกินไป
15.การติดเชื้อในอวัยวะสืบพันธุ์ เจ็บขณะร่วมเพศ
ดูแลความสะอาดของอวัยวะ
การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและสรีรวิทยาในผู้สูงอายุ
ระบบผิวหนัง
ผิวหนังบางลง ความเหนียวของผิวหนังเพิ่มมากขึ้น เซลล์ผิวหนังมีจำนวนลดลง ผู้สูงอายุจึงเกิดแผลกดทับได้ง่ายและทนต่อความเย็นได้น้อยลง
ต่อมเหงื่อมีจำนวนและขนาดลดลง ทำให้การควบคุมอุณหภูมิของร่างกายเลวลง ทำให้เกิดลมแดด
ระบบการได้ยิน
ปัญหาการได้ยินลดลง หูตึง ทำให้มีการบกพร่องการได้ยินระดับเสียงสูงมากกว่าระดับเสียงต่ำ
ระบบการมองเห็น
การมองเห็น ลูกตามีขนาดเล็กลงและลึกเพราะไขมันของลูกตาลดลง หนังตามีความยืดหยุ่นลดลง ทำให้หนังตาตก รูม่านตาเล็กลง โดยัท่วไปผู้สูงอายุสามารถแยกสีแดง สีส้มและสีเหลือง
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
หลังอายุ 40 ปี อัตราการเสื่อมของกระดูกมากกว่าอัตราการสร้าง เซลล์กระดูกลดลง แคลเซียมมีสลายออกจากกระดูกมากขึ้น
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
หลอดเลือดของผู้สูงอายุจะมีการเปลี่ยนแปลงในทางเสื่อมมากขึ้น ทำให้การเเลกเปลี่ยนอาหารและของเสียลดลง ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงท่าทางต่างๆในผู้สูงอายุควรกระทำอย่างช้าๆ เกิดรอยฟกช้ำได้ง่าย
ระบบทางเดินหายใจ
ผู้สูงอายุจะมีความยืดหยุ่นของเนื้อปอดลดลงและกำลังหดตัวของกล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจออกลดลง ปอดยืดขยายและหดตัวได้น้อยลง
ระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบการทำงานลดลง ทำให้เกิดการติดเชื้อได้ง่าย
ระบบทางเดินอาหาร
-ทำให้น้ำย่อยอาหารไหลย้อนกลับขึ้นมาในหลอดอาหาร ทำให้รู้สึกแสบยอดอก -การดูดซึมธาตุเหล็กและแคลเซียมลดลง -กล้ามเนื้อหูรูดบริเวณปลายหลอดอาหารหย่อนตัวลลง
ระบบทางเดินปัสสาวะและระบบสืบพันธุ์
ผู้สูงอายุเสี่ยงต่อการขาดน้ำ หน้าที่ของไตเสื่อมเนื่องจากกระเพาะปัสสาวะมีความจุลดลง ปัสสาวะบ่อยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ส่งผลให้มีปัสสาวะค้างหลังการถ่ายปัสสาวะ -ผู้ชายปัสสาวะขัด ลำปัสสาวะไม่พุ่ง เนื่องจากต่อมลูกหมากโต
-ผู้หญิง กลั่นปัสสาวะไม่อยู่เนื่องจากกล้ามเนื้ออุ้งเชิงกรานหย่อน
ระบบต่อมไร้ท่อ
-มีเนื้อเยื่อพังผืดมสะสมมากเกิดภาวะ hypothyroidism พบมากในผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ทำให้มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหารน้ำหนักลด
-ต่อมเพศทำงานลดลงทำให้ไม่มีประจำเดือน -ตอบสนองต่ออินซูลินน้อยกว่าปกติทำให้ระดับความทนต่อน้ำตาลลดลง